อานิสงส์บูชาเจดีย์ด้วยดอกไม้ ๘ ดอก
ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ยกดอกไม้กำแปดดอกขึ้นบูชาพระสถูปแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า กัสสปะ ด้วยมือของตนเอง ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญในครั้งนั้น ทำให้เป็นผู้ที่มีวรรณะงดงามเช่นนี้
อานิสงส์บูชาพระเจดีย์ทุกวัน
ข้าพเจ้ามีใจเลื่อมใส ได้ถือเอาดอกไม้ของหอม และเครื่องลูบไล้ ไปบูชาพระสถูปของพระศาสดาด้วยมือของตนเอง เพราะกรรมนั้น รูป คติ ฤทธิ์และอานุภาพเช่นนี้จึงมีแก่ข้าพเจ้า
วันอัฏฐมีบูชา ประวัติความสำคัญธรรมเนียมปฏิบัติในวันอัฏฐมีบูชา
วันอัฏฐมีบูชา เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง คือ เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า หลังจากเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานได้ 8 วัน
ศักดิ์สิทธิ์นอกศาสนา
พระรัตนตรัยคือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชาวพุทธ ทุกคนรู้ดีแล้วผ้ายันต์ เครื่องรางของขลังมาจากไหน
อานิสงส์บูชาสิ่งแทนพระพุทธองค์
“ดูกรอานนท์ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็นสถานที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา สังเวชนียสถาน ๔ แห่ง คือ.....
อานิสงส์การบูชาด้วยดอกมะลิ
มนุษย์เท่านั้นที่เกิดมาเพื่อสั่งสมบุญสัตว์ที่เหลือส่วนใหญ่จะเกิดมาเพื่อเสวยผลกรรมที่เคยทำไว้ในอดีต ถึงจะเป็นสัตว์นรกเปรต อสุรกาย หรือสัตว์เดรัจฉาน ก็ต้องชดใช้ ผลกรรมที่ทำไว้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
การบูชามี ๒ อย่าง ได้แก่ อามิสบูชาและปฏิบัติบูชา อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ มีดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องหอมอาหารหวานคาว และน้ำ เป็นต้น
ศึกษาหลักฐานพุทธศิลป์...ย้อนแดนดินถิ่นอารยธรรม
ณ ริมฝั่งแม่น้ำภีมะ ห่างจากหมู่บ้าน Sannati ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๓ กิโลเมตร ในเขตรัฐกรณาฏกะ ทางตอนใต้ของประเทศอินเดีย องค์การสำรวจโบราณคดีอินเดีย หรือ ASI (Archaeological Survey of India) ได้ขุดค้นพบแหล่งโบราณคดีกนคนหลฺลิ (Kanaganahalli) ที่เชื่อว่าเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาสมัยราชวงศ์ศาตวาหนะ....
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก