กุททาลชาดก ชาดกว่าด้วยความชนะที่ดี
ข้าแต่มหาราช ข้าพระองค์เมื่อเบื่อชีวิตปุถุชนก็เอาจอบฝั่งดินไปเป็นฤาษี ครั้นเบื่อหน่ายเพศบรรพชิตก็สึก เป็นเช่นนี้มา ๖ ครั้งแล้ว สุดท้ายข้าพระองค์ได้นำตัวตั้งของกิเลส คือจอบคู่ชีวิตเล่มนี้ขว้างทิ้งลงแม่น้ำ ข้าพระองค์หันหลังเขวี้ยงมันไป เพื่อจะได้ไม่พบเห็นจุดที่มันจมอยู่อีกต่อไป และข้าพระองค์ก็ตัดขาดกิเลสกับมันแต่บัดนั้น
สสปัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยผู้สละชีวิตเป็นทาน
“ มิจำเป็นที่ผู้อื่นจะต้องล่วงรู้หรอกท่านพญากระต่าย คุณความดีในการเสียสละชีวิตเพื่อให้ทานของท่านในครั้งนี้จะคงอยู่ปรากฎตลอดไป ” ทันทีที่กล่าวจบท้าวสักกะในร่างของพราหมณ์ ก็ทำการเขียนรูปของพญากระต่ายไว้บนดวงจันทร์ เพื่อให้เป็นสัญลักษณ์ในการเสียสละครั้งนี้ให้อยู่สืบไป
จุลปทุมชาดก ว่าด้วยการลงโทษหญิงชายทำชู้กัน
พระจุลปทุมกุมารได้ทรงช่วยเหลือโจรที่โดนตัดแขนตัดขาที่ถูกปล่อยลงแพล่องตามแม่น้ำ พระองค์ทรงเยียวยาให้อาหารดูแล จนหายบาดเจ็บในเวลาต่อมา การสร้างบุญของเจ้าชายครั้งนั้นเหมือนการเก็บงูเห่ามาเลี้ยง เมื่อเจ้าชายออกไปหาผลไม้ในป่า พระชายาสาวก็กระทำอนาจารร่วมกับโจรนั้นทุกครั้ง ความชั่วมักหอมหวานจนกลายเป็นสิ่งถูกต้องเสมอในความคิดของคนชั่ว
การทำงานของพระอานนท์
คำถาม : พระอานนท์ทำงานอย่างไร ติดตามพระพุทธองค์ได้อย่างไร
จุลลโพธิชาดก ชาดกว่าด้วยความโกรธ
ดูก่อนภิกษุ ขึ้นชื่อว่าความโกรธ เธอควรจะห้ามเสีย อันความโกรธเห็นปานนี้ ที่จะทำประโยชน์ให้ในโลกนี้และโลกหน้าเป็นไม่มี เธอบวชในศาสนาของพระพุทธเจ้าที่ไม่โกรธแล้ว เหตุไรจึงยังโกรธเล่า
กุลาวกชาดก ชาดกว่าด้วยการเสียสละ
พระศาสดาครั้นทรงแสดงพระธรรมเทศนาแล้ว ตรัสกับภิกษุว่า ดูก่อนภิกษุ บัณฑิตทั้งหลายในกาลก่อนครองราชย์สมบัติในเทวโลก ถึงจะสละชีวิตของตนก็ไม่กระทำปานาติบาตรด้วยประการดังนี้ เธอชื่อว่าบวชในศาสนาอันเป็นเครื่องนำออกจากทุกข์ เห็นปานนี้เหตุใดจักดื่มน้ำมีตัวสัตว์มิได้กรองเล่า
เมื่อโลกเข้าสู่ช่วงกัปไขลง
กัปไขขึ้น - ไขลงหมายความว่าอย่างไร ? ระยะเวลาของกัปยาวนานเพียงใด ? ถ้าอยากเกิดในยุคนั้นควรปฏิบัติตัวอย่างไร ? ..........
คำสอนในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มีข้อสังเกตเรื่องคำสอนที่ชาวพุทธเถรวาทเราควรตระหนักรู้ก็คือ
พิธีมุทิตาสักการะเปรียญธรรมประโยค 9, 6, 3 และบาลีศึกษา 9, 6 สำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
พุทธศาสนิกชน แสดงความยินดี จัดมุทิตาสักการะเปรียญธรรมประโยค 9,6,3 และบาลีศึกษา 9,6 สำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?