คําศัพท์ภาษาอังกฤษน่ารู้ ตอน The Lord Buddha Part 2
ติดตามเรื่องเกี่ยวกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือ The Lord Buddha's History Part#2 ประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 2 วึ่งจะพูดถึงตอนปฐมวัยในฐานะกษัตริย์ของท่าน ซึ่งจะเป็นอย่างไรบ้าง?
พระมหากัสสปะเถระ กับอานิสงส์สร้างพระสถูปเจดีย์
ประวัติการสร้างและบูชาพระเจดีย์ของนักสร้างบารมีในกาลก่อนว่าท่านเหล่านั้นทำกันอย่างไร และผลบุญที่ท่านทั้งหลายเหล่านั้นได้รับเป็นอย่างไร
รวยแต่ไม่มีบุญได้ใช้ทรัพย์
เมื่อมัวบ่นเพ้ออยู่อย่างนี้ว่าของเราแล้วหวงแหนทรัพย์ไว้ ภายหลังพระราชาบ้าง โจรบ้าง ทายาทผู้ไม่เป็นที่รักบ้าง เอาทรัพย์ไป คนนั้นก็จะบ่นเพ้ออยู่นั่นแหละ ส่วนผู้มีปรีชา ใช้เองด้วย สงเคราะห์ญาติทั้งหลายด้วย เขาจะได้รับเกียรติ เพราะการสงเคราะห์นั้น ละโลกนี้ไปแล้ว ก็จะบันเทิงในสุคติโลกสวรรค์
สิ่งที่ทำได้ยากเมื่อให้ไปแล้ว
คนควรให้ทาน จะน้อยหรือมากก็ตาม แต่ผู้ใด ครั้นให้ทานแล้ว ไม่เดือดร้อนใจในภายหลัง การไม่เดือดร้อนใจนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยากกว่าการกลืนดาบ กว่าการพูดว่าจะให้สิ่งของที่เป็นที่รักนั้น เหตุอย่างอื่นนั้นทั้งหมด เป็นสิ่งที่ทำได้ง่าย
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน การสร้างบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในแต่ละพระองค์ก็สร้างบารมีกันมายาวนาน ทรงเกิดในภพต่างๆ เป็นอันมาก และด้วยการเวียนว่ายตายเกิด ด้วยการฝึกฝนอดทน มุ่งมั่นตั้งใจอย่างมาก จึงเป็นเหตุให้พระพุทธองค์ทรงมีปัญญากว้างขวาง เป็นพระสัพพัญญูรอบรู้ทุกสิ่งทั้งปวง
พุทธประวัติ ประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เนื้อหาและภาพพุทธประวัติ พุทธประวัติของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน รวมภาพและบทความพุทธประวัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
วันนี้เป็นวันที่ห้าของการเข้าพรรษา : เครื่องมือของพระกับมาร
วันนี้วันที่ 5 ของการเข้าพรรษา 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 จากหนังสือบางสิ่งที่แสวงหาโดย พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)..
สุกรโพธิสัตว์
ห้วงน้ำ คือพระธรรมไม่มีโคลนตม บาป เรียกว่าเหงื่อไคล และศีล เรียกว่าเครื่องลูบไล้ใหม่ แต่ไหนแต่ไรมา กลิ่นของศีลนั้นไม่เคยจางหายไป
ศีล 8 คำอาราธนาศีล 8 พร้อมคำแปล
คำอาราธนาศีล 8 คำอาราธนาอุโบสถศีล พร้อมคำแปล ระยะเวลาของการรักษาอุโบสถศีล เป้าหมายหลักในการรักษาอุโบสถศีล อานิสงส์ของการรักษาอุโบสถศีล
ตัณหาไม่สิ้นสุด
โลกอันตัณหาย่อมนำพาไป อันตัณหาย่อมผลักไสไป โลกทั้งหมดเป็นไปตามอำนาจของธรรมอย่างหนึ่ง คือตัณหา บัณฑิตพึงรู้โทษของตัณหาว่า เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ พึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ถือมั่น มีสติอยู่ทุกเมื่อ