ธรรมกาย ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทยุคต้น
“ธรรมกาย” เป็นคำที่คุ้นเคยกันดีในหมู่ชาวพุทธ แต่ความหมายของธรรมกายในใจของชาวพุทธแต่ละกลุ่มอาจไม่เหมือนกัน เมื่อความเข้าใจเรื่องธรรมกายในหมู่ชาวพุทธแตกต่างกันอย่างนี้ จึงน่าศึกษาว่า คำว่า “ธรรมกาย” ในคำสอนเก่าแก่ที่เก็บรักษาไว้โดยชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้นเป็นอย่างไร....
วัดพระธรรมกายปฏิเสธการกล่าวอ้างในเฟซบุ๊กชื่อ "เรา รัก ธรรมกาย"
วัดพระธรรมกาย ขอชี้แจงว่า ข้อความดังกล่าวไม่ใช่ข้อความของวัดพระธรรมกาย แต่เป็นข้อความของผู้ใช้ชื่อในเฟซบุ๊ก เรา รัก ธรรมกาย ซึ่งไม่ใช่พระภิกษุ สามเณร ลูกศิษย์วัด หรือกัลยาณมิตรของวัดพระธรรมกายแต่อย่างใด
ธรรมกายคืออะไร
คำถาม : ธรรมกาย คือ อะไร
ธรรมกายคือธรรมขั้นไหน
ธรรมกาย คือกายที่เกิดจากการปฏิบัติมรรคมีองค์ ๘ ได้ สมบูรณ์ พอใครปฏิบัติมรรคมีองค์ ๘ ได้ถูกส่วนเข้า ใจจะหยุดแล้วเห็นกายภายในกายหนึ่งที่ศูนย์กลางกาย เรียกว่า “ธรรมกาย”
ความหมายของ ธรรม ในคำว่า ธรรมกาย
ธรรม ในคำว่าธรรมกาย ที่เป็นพระนามหนึ่งของพระตถาคตนั้นจึงควรหมายถึง โลกุตตรธรรม คือ มรรค ผลนิพพาน ที่เมื่อเข้าถึงแล้ว สามารถเปลี่ยนแปลงปุถุชนให้เป็นอริยบุคคล และเปลี่ยนอริยบุคคลชั้นต้นให้เป็นอริยบุคคลเบื้องสูงขึ้นไปได้นั่นเอง
ความรู้เรื่องธรรมกาย
ธรรมกาย คือ อะไร ในตัวของเรามีธรรมกายหรือไม่ ธรรมกายมีลักษณะอย่างไร ต้องประพฤติธรรมหมวดใด จึงจะเข้าถึงธรรมกาย การปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงธรรมกาย ต้องทำอย่างไร หลักฐานคำว่า “ธรรมกาย” มีอยู่ที่ใดบ้าง รวมข้อมูลธรรมกาย ที่นี่
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
อานิสงส์ถวายประทีป
การบูชาบุคคลผู้ควรบูชาเป็นมงคลอย่างยิ่ง
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
94 ปี วิชชาธรรมกาย ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ
“ธรรมกาย” คือ กายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, “วิชชา” แปลว่า ความรู้แจ้ง, “วิชชาธรรมกาย” แปลว่า ความรู้แจ้งเรื่องธรรมกาย