ต้นแบบประชาธิปไตยมาจากไหน
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าการปกครองคณะสงฆ์ในสมัยพุทธกาลเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ครับ
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ย้อนรอยกาลตามรอยธรรมแห่งพระพุทธโฆษาจารย์
รอยจารึกอักษรโบราณอายุหลายร้อยปีที่ปรากฏบนแผ่นลานนั้น มีความหมายและทรงคุณค่าต่อการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์แห่งการสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านการจดจำและจดจารจากจุดเริ่มต้น ณ ดินแดนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล
เลิกติดเกมอย่างนุ่มนวล
จะแก้ไขปัญหาเด็กติดเกมได้อย่างไร ในสมัยพุทธกาลมีตัวอย่างเหตุการณ์เช่นนี้บ้างไหม คือเรื่องเดียวกันแต่มองคนละมุม จะรู้ได้อย่างไรว่าติดเกมหรือไม่ติด....
วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหลักคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่
ก่อนจะสรุปว่า “การสร้างวัดใหญ่” ผิดหรือถูก ก็อยากให้ลองเปิดพระไตรปิฎกศึกษาประวัติการสร้างที่ประทับของพระบรมศาสดาและการสร้างวัดในสมัยพุทธกาลกันเลยดีกว่า จะได้กระจ่างชัดว่า..วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหรือไม่ ?
อกาลราวิชาดก ชาดกว่าด้วยไก่ขันไม่ถูกเวลา
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้ท่องบ่นไม่เป็นเวลารูปหนึ่ง คราวนั้นมีภิกษุบวชใหม่เป็นกุลบุตรชาวพระนครสาวัตถี บรรพชาในพระศาสนาแล้ว มีความมุ่งมั่นที่จะ...
อุบาสิกา สตรีผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย
อุบาสิกา คือ ตำแหน่งของสตรีผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย ทำหน้าที่ในการอุปถัมภ์บำรุงและปกป้องคุ้มภัยให้แก่พระพุทธศาสนามาตลอดอายุ พุทธกาล ดังเช่น มหารัตนอุบาสิกาวิสาขา ผู้สร้างบุพพาราม วัดสำคัญในสมัยพุทธกาล จวบจนถึงปัจจุบันอุบาสิกาก็ยังคงเป็น 1 ใน 4 เสาหลักแห่งความมั่นคงของพระพุทธศาสนาเหมือนเมื่อครั้งพุทธกาล
กาฬยมุฏฐิชาดก ชาดกว่าด้วยโลภมาก
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตะวันมหาวิหาร ทรงปรารภพระเจ้ากรุงโกศลแล้ว จึงตรัสพระธรรมเทศนาดังนี้ ครั้งนั้นในช่วงฤดูฝนได้เกิดการการกบฏขึ้นทางชายแดนของแคว้นโกศล
วรุณชาดก ชาดกว่าด้วยการทำไม่ถูกขั้นตอน
ย้อนไปในสมัยพุทธกาล ณ พระเชตวันมหาวิหารอันเป็นที่ประทับของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังมีกุลบุตรชาวเมืองสาวัตถีซึ่งเป็นสหายกันประมาณ 30 คน ถือของหอม ดอกไม้และผ้า คิดกันว่าจะเข้าเฝ้าฟังพระธรรมเทศนาของพระศาสดา จึงได้พากันไปยังวิหารเชตวันและได้นั่งพักในโรงนา คมาฬกะ วิสาลมาฬกะ เพื่อรอเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
ประโยชน์ของการสร้างวัดใหญ่
ในสมัยพุทธกาลยังไม่มีพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมะทีละเรื่องและทยอยบัญญัติพระวินัยทีละสิกขาบทเมื่อมีเหตุเกิดขึ้น ในยุคนั้นไม่มีวิทยุ ไม่มีโทรทัศน์ ไม่มีอินเตอร์เน็ต ไม่มีการพิมพ์หนังสือ แล้วคณะสงฆ์ซึ่งกระจายตัวอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ อย่างกว้างขวางทั่วอินเดีย จะรู้ได้อย่างไรว่าขณะนี้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยขึ้นใหม่อีกกี่สิกขาบทแล้ว และถ้าไม่รู้ ถือพระวินัยไม่เท่ากันสวดปาฏิโมกข์ก็มีสิกขาบทไม่เท่ากัน คณะสงฆ์ก็ย่อมขาดเอกภาพ