รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang ภาพยนตร์ประวัติชีวิตพระถังซัมจั๋ง
พระถังซัมจั๋ง Monk Xuanzang เปิดตำนานประวัติบุคคลผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศจีน พระถังซัมจั๋งคือใคร มีประวัติอย่างไร และติดตามตัวอย่างภาพยนต์ฟอร์มยักษ์ เรื่องราวของ “พระถังซัมจั๋ง” ซึ่งเดินทางไปอัญเชิญพระไตรปิฎก ณ ชมพูทวีป ซึ่งจะออกฉายในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ที่จะถึงนี้
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
เป็น อยู่ คือ...วิถีชาวสิงคโปร์ ตอนที่ 2
การแสดงดนตรี ผู้คนแต่ละเชื้อชาติที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินสิงคโปร์มีเครื่องดนตรีประจำชาติเป็นของตน อาทิ วีนา (Veena) ของชาวอินเดีย กู่เจิงของชาวจีน แต่ดนตรีได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศสิงคโปร์และได้รับจากนานาประเทศ คือ การบรรเลงเพลงของวงออร์เคสตราจีนแห่งสิงคโปร์ (Singapore Chinese Orchestra.) ซึ่งเป็นวงที่รวมเครื่องดนตรีสากลไว้ด้วยกันนับ 30 ชนิด เช่น ขลุ่ยผิว พิณจีนโบราณชนิดต่างๆ ขิมจีน เป็นต้น
เทศกาล อาหาร และการแต่งกาย ของประเทศมาเลเซีย
ฮารีรายออิดิลฟิตรี้ จัดขึ้นหลังเดือนเราะมะฎอน (เดือนแห่งการถือศีลลอดมุสลิมทั่วโลก) โดยเริ่มตั้งแต่สิบวันสุดท้ายของเดือนเราะมะฎอน ในตอนเช้ามุสลิมในประเทศมาเลเซียจะเดินทางไปละหมาดร่วมกันที่มัสยิด จากนั้นจะเดินทางไปเยี่ยมกุโบร์หรือสุลานของบรรพบุรุษ
พุทธศาสนาในสายตาชาวโลก
การที่เราเกิดมาอยู่ในพระพุทธศาสนาถือเป็นเรื่องที่โชคดี ทำให้เรารู้เป้าหมายในชีวิต และรู้ว่าเราเกิดมาทำไมเมื่อเกิดปัญหาก็สามารถนำหลักธรรมใช้แก้ปัญหาในชีวิตได้