พิธีอุปสมบท ลำดับขั้นตอนการอุปสมบท
อุปสมบท แปลว่า การเข้าถึง คือการบวช เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา อุปสมบท ปัจจุบันใช้หมายถึงการบวชเป็นภิกษุและภิกษุณี เรียกเต็มว่า อุปสมบทกรรม หรือ อุปสัมปทา คู่กับคำว่า บรรพชา ซึ่งหมายถึงการบวชเป็นสามเณร
เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
42 ปี วันธรรมชัย ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ฉบับวันที่ 24 สิงหาคม
วันธรรมชัย ที่ลูกศิษย์รวมใจกันตั้งขึ้น เป็นวันที่ “หลวงพ่อธัมมชโย” หรือ พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เข้าพิธีอุปสมบทเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2512 ตรงกับวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 9
บทสวดธรรมกายานุสติกถา
กฐินสมทบต่างประเทศ ณ วัดเวฬุวันพุทธวิหาร ประเทศอินเดีย
ผู้แทนวัดพระธรรมกาย ได้ร่วมพิธีทอดกฐินสมทบวัดกัลยาณมิตรต่างประเทศ ณ วัดเวฬุวันพุทธวิหาร เมืองอัตรตละ รัฐตริปุระ ประเทศอินเดีย
พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑโฒ)
ประวัติพระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฑโฒ) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
กลอนวันมาฆบูชา
กลอนวันมาฆบูชา เรียงร้อยถ้อยคำไพเราะถวายเป็นพุทธบูชา "วันมาฆบูชา"
ตักกบัณฑิตชาดก-ชาดกว่าด้วยการข้องแวะกับกิเลสคือบ่อเกิดแห่งทุกข์
พระชาติหนึ่งของพระพุทธองค์บังเกิดขึ้นในที่พักสงฆ์ พระอารามเชตวัน กรุงสาวัตถี ภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งเมื่อออกบิณฑบาตได้พบกับสตรีผู้เลอโฉมเข้าในเช้าวันหนึ่งเนื่องจากภิกษุรูปนี้ยังมีพรรษาในเพศบรรพชิตไม่มากนักทำให้ไม่สามารถละกิเลสได้โดยเกิดความต้องจิตพิศมัยในความงามของสตรีนางนั้น
ประเพณีการบวชพระ ขั้นตอนการบวชพระทำอย่างไร
การบวชพระเป็นประเพณีที่มีความสำคัญมากอย่างยิ่ง เพราะชายที่มีอายุครบ 20 ปี เป็นวัยที่เข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ซึ่งจะต้องมีความรับผิดชอบในชีวิตของตนมากขึ้น ฉะนั้นจึงจำเป็นต้องมีความรู้ และเข้าใจความจริงของชีวิต
พระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ ตอนที่ 1
พระมหาดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ท่านได้เมตตานำเรื่องราวการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยหลักทางพระพุทธศาสนาในหัวข้อธรรมที่มีชื่อว่า พระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติธรรมชาติเนื้อหาจะเป็นอย่างไรนั้นเราไปติดตามชมพร้อมกันเลยค่ะ