ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - สนทนาอย่างบัณฑิต
"ดูก่อนมหาบพิตร ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างบัณฑิต อาตมภาพก็พร้อมจะสนทนากับมหาบพิตร แต่ถ้ามหาบพิตรจักสนทนาตามเยี่ยงอย่างของพระราชา อาตมาก็จักไม่สนทนาด้วย" พระยามิลินท์ตรัสถามว่า “บัณฑิตทั้งหลายสนทนากันอย่างไร”
ภิกษุผู้ยินดีในความไม่ประมาท
ภิกษุผู้ยินดีในความไม่ประมาท เห็นภัยในความประมาท ย่อมเผากิเลสเครื่องผูกมัดได้ เหมือนไฟเผาเชื้อทุกชนิด
นฬปานชาดก ชาดกว่าด้วยการใช้ปัญญาพิจารณา
ครั้งหนึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จไปถึงหมู่บ้านนฬปาน แคว้นโกศล พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรจำนวนหนึ่ง พระภิกษุทั้งหลายได้ลงไปอาบน้ำในสระน้ำ เห็นต้นอ้อขึ้นอยู่มากมาย จึงให้สามเณรไปตัดมาทำกล่องเข็ม.....เมื่อสามเณรตัดต้นอ้อขึ้นมาดู ก็รู้สึกแปลกใจ เพราะต้นอ้อไม่มีปล้องเลย เป็นรูกลวงตลอด จึงพากันไปแจ้งพระภิกษุ พระภิกษุทั้งหลายจึงนำต้นอ้อไปเพื่อกราบทูลถามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
มหิฬามุขชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการคบคนพาล
ราชคฤห์ในแผ่นดินพระเจ้าอชาตศัตรูนั้นบังเกิดมีสำนักพระพุทธศาสนาที่แปลกแยกออกไปโดยมีพระเทวทัตเป็นผู้นำศาสนสถานแห่งใหม่ตั้งอยู่ ณ ตำบลคยาสีสะที่พระเจ้าอชาตศัตรูสร้างถวายและให้อยู่ในพระราชานุเคราะห์อย่างอุดมสมบูรณ์
สุราปานชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของการดื่มสุรา
พวกดาบสดื่มสุราแล้วก็เมามายไม่ได้สติ บางพวกลุกขึ้นฟ้อนรำ บางพวกขับร้อง รุ่งเช้าพอสร่างเมา ฤาษีพากันตื่นเห็นอาการอันวิปปริตของตนนั้น ต่างก็ร้องไห้คร่ำครวญ “ โธ่ พวกเราไม่ได้กระทำอันสมควรแก่บรรพชิตเลย แล้วถ้าอาจารย์รู้จะเสียใจเพียงไร ที่มีศิษย์ทำตัวเยี่ยงนี้ ”
คังเคยชาดก ชาดกว่าด้วยผู้ชอบโอ้อวด
ครั้งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหารได้เกิดเรื่องไม่งามในหมู่สงฆ์ขึ้น เรื่องไม่งามนั้นก็คือ มีภิกษุ 2 รูปผู้เป็นกุลบุตรชาวเมืองสาวัตถี เมื่อบวชในศาสนาแล้วก็ไม่ได้บำเพ็ญอสุภะภาวนา ชอบสรรเสริญรูป เที่ยวพร่ำเพ้อแต่เรื่องรูป
การสวดมนต์สวดเฉพาะคำแปลภาษาไทยได้หรือไม่
การสวดมนต์ทำวัตรเย็น ถ้าไม่ท่องเป็นภาษาบาลี แต่ท่องเฉพาะคำแปลที่เป็นภาษาไทยจะได้หรือไม่
ประวัติพระพุทธศาสนาในไต้หวัน
วัดฝอกวงซัน ปฐมเจ้าอาวาสวัดฝอกวงซัน คือ พระธรรมาจารย์ซิงหวิน ได้เคยเดินทางมาวัดพระธรรมกายและเซ็นสัญญาเป็นวัดพี่วัดน้องกับคุณครูไม่ใหญ่ ในวันมาฆบูชาปีพ.ศ.2537 ปัจจุบันเป็นวัดที่มีความสามารถในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้ผลดีที่สุดในไต้หวัน มีนักบวช 1,200รูป
วันวิสาขบูชา Vesak Day ตอน วันปรินิพพาน
หนฺท ทานิ ภิกฺขเว อามนฺตยามิ โว วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ นี่เป็นพระดำรัสสุดท้ายของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงรวบรวมพระโอวาททั้งปวงที่ได้ประทานมาตลอด ๔๕ พรรษานั้นลงในความไม่ประมาท