จดหมายจาก พระราชรัตนรังษี
ในสภาพปัจจุบันของโลกมีอายุกาลผันเปลี่ยนตามหลักอนิจจัง แต่โลกยังหมุนเพิ่มมลภาวะ ความลดน้อยในมนุษย์ธรรม เป็นวิกฤตที่ควรหันมาความสนใจ ร่วมกันปกป้อง ดูแลพื้นที่อยู่อาศัยให้มีความสงบร่มเย็น
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่่ ๓ ( ท่องทั่วโลกธาตุ )
มีคำหนึ่งที่ทุกท่านได้ยินกันบ่อยๆ คือคำว่า อนันตจักรวาล หมาย ถึง จำนวนจักรวาลที่นับไม่ถ้วน ดังข้ออุปมาเพื่อให้ทุกท่านพอจะนึกภาพออก สมมติว่า ถ้าเราเอาแสนโกฏิจักรวาลที่กล่าวมานั้น ทำให้เป็นพื้นที่ว่างๆ
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑๖ ( เชิญพระเวสสันดรกลับพระนคร )
ดูก่อนสุเมธดาบสจำเดิมแต่นี้ไป ท่านพึงบำเพ็ญทานบารมีข้อแรกให้เต็ม หม้อน้ำที่ควํ่าแล้ว ย่อมคายน้ำออก ไม่เหลือ ไม่นำกลับเข้าไปอีกฉันใด แม้ท่านเมื่อไม่เหลียวแล ทรัพย์ ยศ บุตร ภรรยาหรืออวัยวะน้อยใหญ่ ให้สิ่งที่เขาต้องการ อยากได้ทั้งหมด แก่ผู้ขอที่มาถึง กระทำมิให้มีส่วนเหลืออยู่ จักได้นั่งที่โคนต้นโพธิ์ ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๗ ( เสด็จออกบรรพชา )
เมื่อพระโอรสพระธิดาทอดพระเนตรเห็นพฤกษชาติเผล็ดผลในป่าใหญ่ อยากเสวยผลไม้เหล่านั้น ต้นไม้เหล่านั้นก็น้อมกิ่งลงมาให้พระโอรสพระธิดาสามารถเด็ดเสวยได้เองอย่างง่ายด้วย พระนางมัทรีราชเทวีทอดพระเนตรสิ่งอัศจรรย์นี้ รู้ทันทีว่า เป็นเพราะอำนาจแห่งทานบารมีของพระเวสสันดร
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๕ ( สัตตสตกมหาทาน )
ข้าแต่พระมหาราชเจ้า การตายร่วมกับพระองค์เท่านั้นเป็นสิ่งประเสริฐกว่าการพลัดพรากจากพระองค์ แม้นางช้างพังยังติดตามช้างพลายในป่า อาศัยตามภูผาทางกันดาร ฉันใด หม่อมฉันจะพาบุตรและบุตรีตามเสด็จ ฉันนั้น
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
มหาเถรสมาคมห่วงสงฆ์ชายแดนใต้