ขอเชิญรับเหรียญที่ระลึกรุ่นพระฉลองชัย ชิตัง เม
ในวันคุ้มครองโลกปีนี้ ผู้ที่สวมชุดขาวมาร่วมงานจะได้ภาพพระฉลองชัย ชิตัง เม ขนาด 50 x 50 เซนติเมตร เพื่อนำไปบูชา และรับมอบเหรียญของขวัญที่ระลึกรุ่น “ฉลองชัย ชิตัง เม” จากคณะสงฆ์เมื่อเสร็จงานในช่วงเย็น
Could you also tell me if how Buddhists participate in worship in the Diaspora differs for Mahayana or Theravada Buddhists?
พระพุทธศาสนายุคไร้พรมแดน
สมัยก่อน โลกของเราไม่มีเทคโนโลยีขั้นสูง ไม่มีคอมพิวเตอร์ ชาวพุทธอยู่แต่ในบ้านและประเทศของตน ตั้งใจประพฤติธรรมก็พอแล้ว แต่ในปัจจุบัน เราอยู่ในยุคโลกไร้พรมแดน ชาวพุทธยุคใหม่จึงต้องมีวิสัยทัศน์มองไปทั้งโลก นักบวชก็ควรเปิดใจกว้าง ไม่แบ่งแยกว่าเป็นเถรวาท มหายาน หรือวัชรยาน
World-PEC ครั้งที่2 ทวีปแอฟริกา และทวีปยุโรป
แม้ว่าใคร ประเทศไหน จะคว้าแชมป์โลกไปครอง แต่ทีมน้องเล็กแอฟริกา ต่างชื่นชมว่า “ผู้ชนะ” แน่ๆ คือ พระเดชพระคุณหลวงพ่อทัตตชีโว เพราะว่า หนังสือครอบครัวอบอุ่น ได้รวบรวมพระธรรมเทศนาของท่าน มาให้พวกเราได้อ่านกัน พระเดชพระคุณหลวงพ่อทัตตชีโวนั้น “ชนะใจคนอ่าน” อย่างแท้จริง
สรุปสถิติผู้สมัครสอบ World PEC ครั้งที่2
ข้อมูลเกี่ยวกับ World-PEC ครั้งที่2 (โครงการสอบตอบปัญหาศีลธรรมเพื่อสันติภาพโลก ครั้งที่2) ที่คุณอาจยังไม่ทราบ อาทิ ผู้เข้าสอบที่มีอายุมากที่สุด ผู้เข้าสอบที่มีอายุน้อยที่สุด และ อีกมากมาย
จดหมายจาก เลขาธิการ WBSY
ขณะนี้ การที่พระสงฆ์แบ่งออกเป็นกลุ่มๆ มีคำสอนที่ต่างกันออกไป จะทำให้การปฏิบัติยิ่งแตกต่าง ชาวพุทธก็ไม่ยอมปฏิบัติตามคำสั่งสอนดั้งเดิม หันไปนับถืออะไรต่างๆมากมายที่ไม่ใช่พระพุทธศาสนา ซึ่งดูแล้วไม่มีความหมายอะไรเลย ตอนนี้ถึงเวลาแล้ว ทุกคนจะต้องมาทำงานที่แท้จริง ด้วยการทำสมาธิร่วมกัน ถึงจะมีความหมายที่สำคัญต่อสันติสุขของโลกใบนี้
องค์กรยุวพุทธสงฆ์โลก
องค์กรยุวพุทธสงฆ์โลก ก่อตั้งโดย พระอนุรุทธะเถระ เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 ที่เมืองกาฐมานฑุ ประเทศเนปาล มีพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นตัวแทนจากประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมร่วมกันรวม 3นิกาย คือ นิกายเถรวาท มหายาน และวัชรยาน โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การสร้างเครือข่ายกลุ่มผู้นำขององค์กรยุวพุทธสงฆ์โลก เพื่อสร้างความสามัคคี เป็นหนึ่งเดียวกันในสถาบันสงฆ์และสังคมโลก โดยปราศจากการแบ่งแยกระหว่างนิกาย
สำนักพุทธฯเตรียมจัดตั้ง “พุทธมณฑลโลก”
ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์ !? ของ 4 ผู้ช้ำรัก
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - มหาทาน คือ เสบียงสู่ความหลุดพ้น
วันหนึ่งพระเจ้าเภรุวมหาราชทอดพระเนตรโรงทานของพระองค์ ทรงดำริว่า ปฏิคาหก ผู้รับทานของเรานี้ ล้วนเป็นผู้ทุศีล บริโภคทานแล้วไม่ทำให้จิตใจของทายกยินดีเลย ทำอย่างไรหนอเราจึงจะได้เนื้อนาบุญ เราปรารถนาจะถวายทานกับพระปัจเจกพุทธเจ้า