หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย วันศุกร์ ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 20.00 น. ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
สัมมนาวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
คณะกรรมาธิการ ศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา จัดสัมมนา เรื่องวิถีพุทธ วิถีพราหมณ์ กับวิถีความเป็นไทย
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 166
มโหสถระดมคนงานราว ๖,๐๐๐คน ให้ช่วยกันขุดกรวดทรายและดิน ขนออกมาด้วยกระทงหนังขนาดใหญ่ แล้วเทลงในแม่น้ำจนน้ำขุ่นคลัก แม่น้ำนั้นก็ไหลผ่านไปถึงปัญจาละนคร ชาวเมืองต่างได้รับความเดือดร้อน ก็พากันบ่นอุบว่า “โธ่เอ๋ย ไม่น่าเลย ตั้งแต่มโหสถมานี่ ยังไม่ทันไร ก็สร้างความลำบากให้พวกเราเสียแล้ว น้ำขุ่นคลักอย่างนี้ พวกเราจะไปหาน้ำใสๆ ดื่มกินกันได้ที่ไหน”
ความเป็นมาทางสังคมวัฒนธรรม ของ อีสาน และลาวสองฝั่งโขง บรรพชน"คนไทย"
นร.นับสิบชักดิ้น บวงสรวงเทพ!
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
การบรรลุธรรมไม่ได้จำกัดชนชั้น การหมดกิเลสไม่ได้จำกัดวัย การสิ้นอาสวะไม่ได้จำกัดเพศภาวะ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น ไม่ว่าใคร ๆ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า