อานิสงส์มีเพื่อนดี
บุคคลไม่ควรคบปาปมิตร ไม่ควรคบบุรุษต่ำช้า ควรคบกัลยาณมิตร ควรคบบุรุษสูงสุด
อานิสงส์ถวายศาลาจาตุรมุข
ญาติ มิตร และสหายผู้มีใจดีทั้งหลาย เห็นบุรุษผู้ไปอยู่ต่างถิ่นมานาน เดินทางกลับมาแต่ที่ไกลๆ ด้วยความสวัสดี ย่อมยินดียิ่งว่า มาแล้ว ฉันใด บุญทั้งหลายก็ย่อมต้อนรับบุคคลผู้กระทำบุญไว้ ซึ่งจากโลกนี้ไปสู่โลกหน้า ดุจหมู่ญาติเห็นญาติที่รักมาแล้ว ต้อนรับอยู่ฉันนั้น
ทำไมต้อง”บวชแต่หนุ่ม”
ประเพณีบวชแต่หนุ่ม เมื่ออายุครบบวช คือ ๒๐ ปี เป็นรากฐานที่มั่นคง ของพระพุทธศานาในเมืองไทยมานับพันปี ทำให้สังคมไทยเข้มแข็งด้วยศีลธรรม
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - สุวรรณสาม ยอดกตัญญู
พระราชาได้สดับถ้อยคำอันอ่อนโยน จึงดำริว่าบุรุษผู้นี้ แม้ถูกเรายิงด้วยลูกศรล้มลงแล้ว ไม่ด่าบริภาษเรา ยังเรียกหาเรา ด้วยถ้อยคำที่อ่อนโยนน่ารัก น่าพอใจจึงเสด็จเข้าไปใกล้ สุวรรณสาม ตรัสว่า เราเป็นพระราชา
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 94
อาจารย์เสนกะไม่รอช้า รีบชิงกราบทูลก่อนใครๆว่า “ขอ เดชะมหาราชเจ้า ก่อนอื่นข้าพระบาททั้งหลายใคร่จะทูลถามความเห็นของพระองค์ก่อน พระพุทธเจ้าข้า หากได้ทราบความดำริของพระองค์แล้ว พวกข้าพระบาทก็จักได้กราบทูลให้เป็นที่พอพระราชหฤทัยสืบไป พระพุทธเจ้าข้า”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 93
มโหสถอธิบายหลักของการคบมิตรอย่างชัดแจ้ง หวังจะให้เป็นประโยชน์แก่อาจารย์ทั้ง ๔ โดยปราศจากความระแวงว่าตนกำลังถูกอาจารย์เสนกะต้อนให้ตกหลุมพราง
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 92
มโหสถบัณฑิตจึงสรุปเพื่อยืนยันมติของตนอีกครั้งว่า “ถูกแล้วท่านอาจารย์ ความเป็นคนจริง พูดจริง ทำจริง เป็นคุณสมบัติที่ถือเป็นหลักของคนได้แน่” แล้วอาจารย์เสนกะก็รุกถามถึงประเด็นสำคัญต่อไปว่า “ผู้ดำรงมั่นอยู่ในความสัตย์จริงแล้ว ควรจะปฏิบัติอย่างไรต่อไป”
มงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - อย่าทอดทิ้งกัน
คนใกล้ชิดของท่านเศรษฐีมักปรารภให้ฟังว่า อย่าเลี้ยงนายกาฬกรรณีไว้เลย เพราะชื่อของเขาไม่เป็นมงคล และยังเป็นคนยากไร้ ไม่มีศักดิ์ศรีเสมอท่านเศรษฐี จะเลี้ยงคนๆ นี้ไว้ทำไม ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีก็ไม่ได้สนใจ กลับตอบว่า บัณฑิต ย่อมไม่ถือมงคลจากชื่อเสียงเรียงนาม เพียงแค่ชื่อที่ไม่เป็นมงคล ถึงกับจะให้ทอดทิ้งเพื่อนที่คบกันมาตั้งแต่เด็กนั้น เราทำไม่ได้ เป็นสิ่งที่ไม่สมควรอย่างยิ่ง
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - จนข้ามภพ รวยข้ามชาติ ( ๕ )
สามเณรเดินต่อไป เห็นช่างศร กำลังเอาลูกศรลนไฟ เล็งดูด้วยหางตา แล้วดัดให้ตรง จึงเรียนถามพระเถระด้วยความอยากรู้ ตามประสาเด็กอายุ ๗ ขวบ ที่มีบารมีแก่กล้า เมื่อได้คำตอบแล้ว ก็ตรึกธรรมะไปว่า ถ้าสามารถดัดลูกศรที่ไม่มีจิต ให้ตรงได้ ทำไมหนอ คนซึ่งมีจิตแท้ๆ จึงไม่สามารถบังคับจิตของตนเองได้"
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มีไมตรีจิตต่อกัน
ข้าแต่พญาหงส์ ในยามผลดกนกทั้งหลายก็ชุม แต่พอผลวายนกทั้งหลายก็ไปไม่เหลียวแล ตอนมีผลประโยชน์ใครๆ ก็เห็นคุณค่า แต่ตอนที่หมดประโยชน์ ใครบ้างเล่าจะนึกถึงผู้มีอุปการคุณ เราจะไม่ไปไหนทั้งนั้น ต้นไม้นี้เป็นทั้งเพื่อน เป็นทั้งญาติของเรา เราต้องการเป็นอยู่เพียงเท่านี้ ขอเพียงได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับต้นไม้ที่มีพระคุณกับเราเท่านั้น