ขอเชิญร่วมสัมมนา "การพัฒนาความเป็นกัลยาณมิตร"
การสัมมนา "การพัฒนาความเป็นกัลยาณมิตร" โดยกระบวนการฝึกทักษะทางสังคม ของนักษามหาวิทยาลัยธรรมกาย แคลิฟอร์เนีย ขอเรียนเชิญศิษย์เก่า & ศิษย์ปัจจุบัน DOU และผู้สนใจ (รับจำนวนจำกัด **ที่ลงทะเบียนเท่านั้น) ในวันอาทิตย์ที่ 18 ก.พ. 2561 เวลา 8.30-18.00 น. ห้อง SPD3 ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย
มิตรแท้ มิตรเทียม
เพื่อนหรือมิตรมีกี่ประเภท มีลักษณะอย่างไรบ้าง ? แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าใครเป็นมิตรแท้มิตรเทียม ? วิธีรักษามิตรแท้ให้อยู่กับเรานาน ๆ ต้องทำอย่างไร ?
สาธุศีลชาดก ชาดกว่าด้วยตำราเลือกลูกเขย
เมื่อครั้งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเกิดเป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์ในเมืองตักศิลา ได้มีพราหมณ์เฒ่าผู้หนึ่ง มีลูกสาวที่งามพร้อมทั้งกาย วาจาและใจจนเป็นที่หมายปองของหนุ่มน้อยหนุ่มใหญ่สี่คนด้วยกัน
จับเสือมือเปล่า
การทำเงินเเบบ "จับเสือมือเปล่า" เป็นอย่างไร? จับเสื้อมือเปล่าเเตกต่างกับเสือนอนกินอย่างไร? การจับเสือมือเปล่าต้องทำอย่างไร? โภคะเกิดแก่ผู้มีบุญ สิริชาดก
กาฬกัณณิชาดก ชาดกว่าด้วยมิตร
“พวกเธอจงเชื่อเถิด ขึ้นชื่อว่ามิตร ย่อมเกื้อกูลต่อกันเสมอ แม้มิตรนั้นจะตกต่ำในฐานะ แต่เมื่อจิตใจร่ำรวยดังนี้ มิตรอย่างเราก็ต้องอนุเคราะห์ให้ทรัพย์เป็นทุนกับเขายิ่งๆ ขึ้นไป”
พุทธชิโนรส (๔)
พระตถาคตผู้มีพระปัญญาเฉลียวฉลาด ทรงสมบูรณ์ด้วยศีล ทรงรักษาเราเหมือนนกต้อยตีวิด พึงรักษาไข่ เหมือนเนื้อจามรีรักษาขนหางสูงสุดฉะนั้น
อยู่ในธรรมเพราะกัลยาณมิตร
บุคคลเป็นผู้มีความสุขเป็นนิตย์ได้ เพราะการได้คบกับกัลยาณมิตร ด้วยว่าบุคคลผู้สมาคมกับกัลยาณมิตร ย่อมได้รับแต่ประโยชน์ ย่อมก่อเกิดดวงปัญญา ย่อมเจริญอยู่ในธรรมอันเป็นกุศล ย่อมไม่เศร้าโศกสิ้นกาลนาน การอยู่ร่วมกันกับกัลยาณมิตร ย่อมเป็นสุขทุกเมื่อ
ปรโลกนิวส์ กัลฯ พล.อ.อ.วีระวุธ ตอนที่ 4
ทันทีที่ท่านเทพบุตรใหม่ ได้เห็นพระธรรมกายเมตตามาเยี่ยมตัวท่านถึงที่เทวรถแล้ว ตัวท่านก็เกิดความรู้สึกปลื้มปีติดีใจเป็นอย่างมาก แล้วตัวท่านก็ไม่รอช้าได้รีบลงมาจากรัตนบัลลังก์หลักกลางเทวรถ เพื่อมากราบพระธรรมกายด้วยความเคารพนอบน้อมในทันที
กรณีศึกษา คุณโมนิค มูนอฟ ตอนจบ
คำถามข้อที่ 6. ทำไมคุณไอวี่ถึงได้มีความศรัทธาเลื่อมใส และมีความเข้าใจในมโนปณิธานการสร้างบารมีของพระเถระและหมู่คณะเป็นอย่างมากครับ
ฆราวาสธรรม
บุคคลใดผู้อยู่ครองเรือนประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ บุคคลนั้นแล ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก