วันปิยมหาราช ประวัติและความสำคัญของวันปิยมหาราช
วันปิยมหาราช 23 ตุลาคม มีประวัติความเป็นมา ความสำคัญต่อชาติไทยอย่างไร กลอนวันปิยมหาราช
โครงการอุปสมบทหมู่ บูชาธรรมมหาปูชนียาจารย์ ประจำปี 2565
โครงการอุปสมบทหมู่ บูชาธรรมมหาปูชนียาจารย์ ประจำปี 2565 อบรมระหว่างวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 - 7 มีนาคม พ.ศ.2566 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร.02-831-1234
วิโรจนชาดก ชาดกว่าด้วยสุนัขจิ้งจอกไม่เจียมตัว
พระเทวทัตเถระมีญาณเสื่อมบังเกิดอิจฉาริษยาในบารมีของพระพุทธองค์และบังอาจตั้งกฎขึ้นปกครองสงฆ์ขึ้นแข่งขัน แต่พระพุทธองค์ไม่ทรงอนุญาตนำมาปฏิบัติ พระเทวทัตซึ่งถือตนว่าเป็นพระญาติและมีทุกสิ่งทัดเทียมเช่นกันกับพระพุทธเจ้าเมื่อถูกขัดใจก็ขุ่นเคืองจึงวางแผนแยกคณะสงฆ์ออกจากพระศาสดา และได้ทำการชักชวนภิกษุบวชใหม่ในสำนักของพระโมคคัลลาและสำนักพระสารีบุตรจำนวน ๕๐๐ รูปให้ติดตามไปตั้งคณะสงฆ์ใหม่
วันสื่อสารแห่งชาติ 2566 ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของการสื่อสาร
การสื่อสารมีความสำคัญ จึงได้มีการกำหนดวันสื่อสารแห่งชาติ ขึ้นมา ในวันที่ 4 สิงหาคมของทุกปีเป็น "วันสื่อสารแห่งชาติ" การสื่อสารหมายถึงอะไรศึกษาได้จากบทความนี้ค่ะ...
โครงการอุปสมบทหมู่ ครบรอบ 105 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
โครงการอุปสมบทหมู่ ครบรอบ 105 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย ระหว่างวันที่ 21 สิงหาคม - 2 ตุลาคม พ.ศ.2565 สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 096-795-3472, 083-559-9565
ทุททุภายชาดก ชาดกว่าด้วยกระต่ายตื่นตูม
เจ้ากระต่ายตัวหนึ่งมีความคิดที่ว่าหากแผ่นดินเกิดถล่มขึ้นมาตนควรจะทำอย่างไรดี จู่ ๆ ผลมะตูมลูกหนึ่งก็หล่นจากต้นตกใส่บนหลังคาใบตาลอันเป็นรังของเจ้ากระต่ายเข้าเต็มเปา เสียงดังจากการตกกระทบบวกกับความคิดจดจ่อของมันสร้างความตื่นตระหนกตกใจให้กับเจ้ากระต่ายเป็นยิ่งนัก มันเลยวิ่งหนีสุดชีวิต ทำให้บรรดาสัตว์ป่าทั้งหลายแตกตื่นพากันวิ่งตามๆ กันไปจนเกือบจะตกจากหน้าผาที่สูงชัน
สกุณาชาดก ชาดกว่าด้วยที่พึ่งให้โทษ
ในกาลก่อนพระภิกษุเมื่อออกบวชแล้ว ต่างก็มีวิธีในการแสวงธรรมต่างกันออกไป บ้างก็ศึกษาพระธรรมในพระอาราม บ้างก็ในป่าใหญ่ ดังเช่นภิกษุบวชใหม่รูปหนึ่งได้เลือกออกไปปฏิบัติธรรมในป่าแห่งหนึ่ง เมื่อเข้าฤดูแล้งป่าที่เคยชุ่มชื่นก็แห้งแล้งร้อนระอุ เมื่อกิ่งไม้ใบไม้เสียดสีกันมากๆ ก็เกิดเป็นเปลวไฟลุกไหม้ลามมาถึงบรรณศาลาของภิกษุ เมื่อไฟมอดลงบรรณศาลาของภิกษุก็เหลือแต่ซากเถ้าถ่าน ภิกษุจนปัญญาที่จะสร้างศาลาใหม่ได้ จึงออกจากป่าไปขอความช่วยเหลือจากชาวบ้าน
วันอัฏฐมีบูชา ประวัติความสำคัญธรรมเนียมปฏิบัติในวันอัฏฐมีบูชา
วันอัฏฐมีบูชา เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง คือ เป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของพระพุทธเจ้า หลังจากเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานได้ 8 วัน
วิบากกรรมปาณาติบาต
สรรพชีวิตไม่ว่าจะเป็นคนหรือสัตว์ เมื่อเกิดมามีชีวิตอยู่บนโลกใบนี้แล้ว ย่อมมีความรักตัว กลัวเจ็บ กลัวตาย ด้วยกันทั้งสิ้น พูดได้ว่า ไม่มีใครเลยที่จะไม่กลัวตาย ไม่ต้องพูดถึงใครที่ไหนอื่นให้ไกลไป ดูแต่ตัวของเราเถิด เมื่อนึกถึงความตายขึ้นมาคราวใด ก็ให้รู้สึกหวั่นใจขึ้นมาคราวนั้น ที่เรากลัวตายนั้น ก็เพราะเหตุว่า เราไม่อยากพลัดพรากจากบุคคลและทรัพย์สมบัติอันเป็นที่รัก อีกทั้งกลัวเพราะไม่รู้ว่า เมื่อตายไปแล้ว จะต้องไปเจอกับอะไร ทุกข์ยากมากแค่ไหน
วันลอยกระทง สำคัญไฉน เราชาวพุทธต้องปฏิบัติตนอย่างไร
วันลอยกระทง มีประวัติความเป็นมาและมีความสำคัญอย่างไร ในฐานะเราเป็นชาวพุทธเราจะปฏิบัติตนอย่างไร