อย่างแรง บวชพระหนึ่งแสนรูปเข้าพรรษาทั่วไทย
บรรยากาศการทำหน้าที่ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้กลับมารุ่งเรืองเหมือนย้อยยุคพุทธกาล
Super Big Cleaning ในครั้งพุทธกาล
เรื่องราว Super Big Cleaning ในสมัยพุทธกาลในช่วงที่พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้านำเหล่าภิกษุสงฆ์สาวกกว่า 500 รูป เดินทางไปโปรดชาวเมืองไพศาลี
คัมภีร์ใบลาน มรดกธรรมจากพุทธกาล
การจารจารึกเป็นตัวอักษรขึ้นนับเป็นจุดเริ่มต้นของการสืบทอดคำสอนด้วยใบลานนับแต่นั้นเป็นต้นมา เนื่องจากเดิมคัมภีร์บาลีสืบทอดต่อกันมาด้วยมุขปาฐะ ภาษาบาลีจึงไม่มีตัวอักขระ เป็นเพียงเสียงเท่านั้น
อินทสมานโคตตชาดก ชาดกว่าด้วยการสมาคมกับสัตบุรุษ
อินทสมานโคตรเป็นนักบวชผู้ว่ายาก สอนยาก มีนิสัยดื้อรันไม่ยอมฟังใคร เขาได้พบเจอลูกช้างในป่า ซึ่งแม่ของมันตาย และเขาได้เก็บลูกช้างนั้นมาเลี้ยง โดยไม่ฟังคำทัดทานห้ามปรามของใครเลยแม้แต่อาจารย์ของเขาเอง ถึงภัยที่จะเกิดขึ้นกับตัวเขา สืบเนื่องมาจากลูกช้างป่าที่เขาได้นำมันมาเลี้ยง
การันทิยชาดก ชาดกว่าด้วยการทำที่เหลือวิสัย
“ พระคุณท่านคนเหล่านั้นเขาไม่ได้รักษาศีล ดังที่รับศีลไว้เลยนะขอรับ ” “ แต่นี้ต่อไปขอพระธรรมเสนาบดี จงหยุดให้ศีลแก่ผู้ไม่พอใจรับอีกเลย พวกพรานใจบาป นักเลงหัวขโมยพวกนั้น ไม่อาจขัดขืนถ้อยคำพระเถระเจ้า จึงรับศีลไป แต่จิตใจมิได้ยอมรับตามเลยแม้แต่น้อย ” ศิษย์ทั้งหลายของพระสารีบุตรกล่าวขอดังนี้อยู่หลายครั้ง แต่มิได้ทำให้การศีลหยุดลงแต่ประการใด “ ไม่เป็นไรหรอกรับศีลไปทุกวัน สักวันหนึ่งเขาก็คงประพฤติปฏิบัติศีลได้เอง
จดจำ จรดจาร
บัณฑิตทางพระพุทธศาสนา หมายถึง บุคคลผู้ทรงความรู้ มีจิตใจที่งดงาม และมีการดำเนินชีวิตที่ถูกต้อง การเป็นบัณฑิตที่แท้ได้ต้องมีธรรมะเป็นพื้นฐาน โดยอาศัยแนวทางจากหลักธรรมคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธรรมวินัยที่พระภิกษุสงฆ์และพุทธศาสนิกชนยึดถือปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน
ทอดกฐินอย่างไรให้รวยอย่างในสมัยพุทธกาล
..มีกระแสถามเข้ามาว่า วัดพระธรรมกายสอนผิดหรือเปล่า? ในเรื่องของการทำบุญทอดกฐิน ที่ต้องรีบปิดกองก่อนหรือทำบุญแบบเต็มที่เต็มกำลัง!!!
จุลลกเศรษฐี-ชาดกว่าด้วยความฉลาดในการสร้างฐานะ
ในสมัยพุทธกาลขณะที่องค์พระบรมศาสดาทรงสอดส่องพระพุทธญาณ ณ วัดชีวกัมพวัณ กรุงราชคฤห์เพื่อโปรดเวไนยสัตว์ผู้ตกทุกข์ดังที่ทรงบำเพ็ญอยู่เป็นนิจ พลันสายพระเนตรทรงเห็นภิกษุหนุ่มจุลลปัณฐกะที่ท้อถอยสิ้นความเพียร เนื่องด้วยมีสติปัญญาทึบ
สามเณรอรหันต์ รวมเรื่องราวของสามเณรอรหันต์ในสมัยพุทธกาล
สามเณรอรหันต์ รวมเรื่องราวของสามเณรอรหันต์ในสมัยพุทธกาล ได้แก่ สุมนสามเณร, โสปากสามเณร, สามเณรสีวลี, สังกิจจสามเณร, สามเณรเรวตะ, สามเณราหุล, บัณฑิตสามเณร, สามเณรทัพพะ, ติสสสามเณร, สามเณรสานุ, สามเณรปิโลติกกะ, สามเณนิโครธ, จุนทะสามเณร และกุมารกัสสปสามเณร