อย่าตายฟรี ๆ
เวลาในแต่ละวันผ่านไปเร็วมาก เดี๋ยววัน เดี๋ยวคืนเผลอประเดี๋ยวเดียวก็ผ่านไปเป็นสิบ ๆ ปี ซึ่งคนส่วนใหญ่มักจะได้คิด หรือมีเวลาหยุดคิด ก็ตอนเจอมรสุมของชีวิตตอนหมดเรี่ยวหมดแรง ตอนแก่ ตอนป่วย หรือคิดได้ตอนใกล้จะตาย
I can’t respect monks, can I?
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - แม้เป็นคนดี ก็ไม่ควรประมาท
รุ่งขึ้น พระราชาให้นำไหขนาดใหญ่บรรจุคูถจนเต็ม เอาใบตองมาผูกปากไหไว้ ให้ไปตั้งเรียงกัน ใส่น้ำมันยาง ต้นกากะทิง และหนามงิ้วหนาๆ จนเต็มหม้อ วางไว้หัวบันได ทรงให้พวกนักมวยร่างใหญ่ ถือค้อนยืนอยู่ใกล้ๆ หัวบันได จากนั้นพระองค์ทรงรอคอยด้วยความอาฆาตแค้นที่สุมแน่นอยู่ในอก
คำว่าอจินไตยหมายถึงอะไร ?
อจินไตย แปลว่า เรื่องที่ไม่ควรคิด เพราะเกินภูมิปัญญาของมนุษย์ที่จะใช้ความคิดปกติไปคิดได้ คิดแล้วจะมีส่วนแห่งความเป็นบ้าการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล ทดลองวิจัย สุดท้ายก็สรุป ใช้ไม่ได้กับเรื่องอจินไตย
อัศจรรย์ 9 คดี ถูกยกฟ้องหมด
หญิงสาวคนหนึ่งป่วยเป็นมะเร็งขั้นสุดท้าย ผ่าตัดมาแล้วถึง 7 ครั้งแพทย์ที่อเมริกาบอกว่า หมดทางรักษา ขนาดขอยามาทานหมอยังไม่ให้ บอกว่าไม่มีประโยชน์ และยังบอกอีกว่า ผู้ป่วยจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง 1 เดือนเท่านั้น ...หลังจากที่เธอได้พบกับคุณครูไม่ใหญ่ ทำให้เธอเกิดความศรัทธาขึ้นมาอย่างแรงกล้า เธอตัดสินใจขึ้นไปปฏิบัติธรรมที่สวนบัว และได้พบกับองค์พระภายใน...เมื่อกลับไปหาแพทย์ที่อเมริกาอีกครั้ง ปรากฏว่า หมอตรวจไม่พบเซลล์มะเร็งเลย เหมือนกับว่าเธอไม่เคยเป็นมะเร็งมาก่อน...
97 ปี วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกายพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
ย้อนไปเมื่อ พ.ศ. 2427 ตรงกับรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ณ ผืนดินรูปดอกบัว ที่แวดล้อมด้วยธารน้ำแห่งตำบลสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีเด็กชายคนหนึ่ง ถือกำเนิดขึ้นในครอบครัวของพ่อค้าข้าวเด็กชายคนนี้ได้ชื่อว่า “สด มีแก้วน้อย....
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล จัดงานบุญครอบรอบ 134 ปี พระมงคลเทพมุนี
วัดพระธรรมกายซีแอตเติล ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดงานบุญเนื่องในวันคล้ายวันเกิดครบรอบ 134 ปี พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
เราคือ..ผู้ออกแบบชีวิต
การที่เรามองโลกด้วยมุมมองแตกต่างกัน เป็นเพราะเราเกิดมาแตกต่างกัน ได้สัมผัสโลกในแง่มุมที่ต่างกัน และมีประสบการณ์ในโลกนี้ต่างกัน ซึ่งในทางพระพุทธศาสนาระบุว่า “กรรม”เป็นตัวกำหนดความแตกต่างเหล่านี้
อยู่ก็รัก จากก็คิดถึง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาราณียธรรม ๖ ประการนี้ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เข้าไปตั้งกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง แบ่งปันลาภทั้งหลาย ที่ประกอบด้วยธรรมได้มาโดยธรรม แม้โดยที่สุดบิณฑบาต ย่อมบริโภคร่วมกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลายผู้มีศีล ภิกษุเป็นผู้มีศีลไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันวิญญูชนสรรเสริญ อันตัณหาทิฏฐิไม่ยึดถือ เป็นไปพร้อมเพื่อสมาธิ เสมอกันกับเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง อนึ่ง ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งอันเป็นของประเสริฐ เป็นเครื่องนำสัตว์ออกจากทุกข์ ย่อมนำออกเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้กระทำทิฏฐิอันนั้น มีอยู่ ภิกษุเป็นผู้ถึงความเสมอกันด้วยทิฏฐิในทิฏฐิเห็นปานนั้นกับเพื่อนสหพรหมจารีทั้งหลาย ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ธรรม ๖ ประการเหล่านี้แล เป็นที่ตั้งแห่งความให้ระลึกถึง เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่รัก เป็นเครื่องกระทำให้เป็นที่เคารพ ย่อมเป็นไปเพื่อความสงเคราะห์ เพื่อความไม่วิวาท เพื่อความสามัคคี เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพใจให้เหมาะสมแก่การฝึกสมาธิและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงธรรม
ร่างกายของเรานี้ประกอบด้วยธาตุสี่ที่ไม่บริสุทธิ์จึงเสื่อมสลายตลอดเวลา ทำให้ต้องหา ธาตุสี่จากภายนอกมาเติมเข้าไปอยู่เรื่อย ๆ ไม่มีสิ้นสุด ดังที่เราต้องประกอบกรรมต่าง ๆ เพื่อการเติมธาตุสี่ แต่กายนั้นก็ทำกรรมตามที่ใจของเราเป็นตัวสั่งการ ส่วนของใจทำหน้าที่รู้และคิด ส่วนของกายพูดและทำ