พระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ ตอนที่ 1
พระมหาดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ท่านได้เมตตานำเรื่องราวการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยหลักทางพระพุทธศาสนาในหัวข้อธรรมที่มีชื่อว่า พระพุทธศาสนากับปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติธรรมชาติเนื้อหาจะเป็นอย่างไรนั้นเราไปติดตามชมพร้อมกันเลยค่ะ
รัตนะ ๗ ยังสู้พระรัตนตรัยไม่ได้
รัตนะใดๆ ที่มีมากมายในโลกนี้ รัตนะนั้นทั้งหมด เทียบไม่ได้กับพุทธรัตนะ ดังนั้น ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ท่านทั้งหลาย
กลอนวันปิยมหาราช
กลอนวันปิยมหาราช วันปิยมหาราช 23 ตุลาคม มีประวัติความเป็นมา ความสำคัญต่อชาติไทยอย่างไร
สังเกตคนดีที่ความประพฤติ
บุคคลผู้ประสงค์จะไปสู่ทิศที่ไม่เคยไป (คือ อายตนนิพพาน) ต้องตามรักษาจิตของตน เหมือนคนประคองภาชนะน้ำมันที่เต็มเสมอขอบปากที่ไม่พร่องไว้ฉะนั้น
จอมเทพอสูร
ดูก่อนอสูรผู้ใจบาป เราทั้งปวงนี้มีความประสงค์จะขออภัย ไยท่านกล้ามาให้ซึ่งภัยเสียเล่า เราใคร่จะขอรับแต่อภัยอย่างเดียว เมื่อท่านมาให้ภัยกระนี้ เรามิรับดอก ภัยนั้นจงตกอยู่กับตัวท่านเองเถิด สัมพรอสูรเอ๋ย
ภาพชีวิตที่ต้องก้าวต่อไปบนพื้นน้ำ ของชาวกรุง
ภาพการดำเนินชีวิตท่ามกลางวิกฤติ "น้ำ" ของชาวกรุง กลายเป็นภาพที่ชินตาไปแล้วในช่วงนี้ ใครเลยจะรู้ว่า ภาพที่เคยเห็นแค่ในหนัง จะกลับกลายเป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 42 การสร้างบารมีของพระศรีอริยเมตไตรย์ (3)
พระศรีอริยเมตไตรย์ทรงสร้างบารมีมายาวนาน รวมระยะเวลา 80 อสงไขยกับอีกแสนมหากัป ในยุคนั้นจึงมีสิ่งอัศจรรย์เกิดขึ้นอย่างมากมาย
บุญสารถีและอุปัฏฐากพระ-ที่นี่มีคำตอบ
ด้วยบุญที่ลูกถวายภัตตาหาร น้ำปานะแด่พระอาจารย์ที่มาทำหน้าที่ที่ศูนย์กัลยาณมิตรตลอดมา สามีก็คอยอุปัฏฐากและขับรถรับส่งพระอาจารย์มาโดยตลอด ผลบุญนี้จะส่งผลพิเศษอย่างไร
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 141
พราหมณ์อนุเกวัฏกลับเข้าไปในฐานทัพแล้ว ก็ตะโกนก้องร้องประกาศแก่พวกพ้องว่า “พระเจ้าจุลนีหนีไปแล้ว...พวกเรารีบหนีกันเร็ว ขืนอยู่จักต้องตายไปตามๆกัน ไปเถิดพวกเรารีบหนีเร็วเข้า” บรรดาผู้สืบราชการลับ เมื่อได้ยินเสียงตะโกนร้อง ก็พากันตะโกนบอกต่อๆกันไป จนเสียงดังระเบ็งเซ็งแซ่ไปทั้งกองทัพปัญจาละ
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”