การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน
คำถาม : การทำบุญ 7 วัน กับ 100 วัน หลังจากที่เสียชีวิตมีความแตกต่างกันอย่างไรค่ะ
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - ผู้เลิศทางมีลาภ ( ๒ )
ด้วยอานุภาพบุญของพระโอรสที่อยู่ในพระครรภ์ เมื่อข้าวกล้าออกรวง ปรากฏว่า ข้าวแต่ละต้นจะแตกงอกออกเป็นร้อยเป็นพันเมล็ด และเมื่อหว่านพันธุ์ข้าวลงในนา ๑ ไร่ จะได้ข้าว ถึง ๕๐ - ๖๐ เกวียน ขณะขนข้าวขึ้นยุ้งฉาง ชาวเมืองต่างขอให้พระนางสุปปวาสาจับที่ประตูของยุ้งฉาง แม้ข้าวในยุ้งฉางจะถูกขนออกไปเท่าไร แต่ก็ไม่รู้จักหมดสิ้น
มงคลที่ ๑๙ งดเ้ว้นจากบาป - กลิ่นแห่งความหลุดพ้น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสตอบติสสฤๅษีว่า ชนเหล่าใดฆ่าสัตว์ ไม่สำรวมในกามทั้งหลาย มีความเห็นว่า ทานที่บุคคล ให้แล้วไม่มีผล เป็นผู้ประทุษร้ายมิตร มีปกติไม่ให้ นี้ชื่อว่ากลิ่นดิบของชนเหล่านั้น เนื้อ และโภชนะไม่ชื่อว่าเป็นกลิ่นดิบ และสัตว์เหล่าใดขวนขวายในอกุศลกรรม ตายแล้วย่อมเข้าถึงที่มืด มีศีรษะลงตกไปสู่นรก
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - ผู้เลิศทางมีลาภ ( ๓ )
อันที่จริง ตำแหน่งยศถาบรรดาศักดิ์ ล้วนเป็นของสมมติ เพื่อไว้ใช้สร้างบารมี ย่นย่อหนทางพระนิพพานให้สั้นลง แต่ผู้ไม่รู้ กลับใช้ก่อกรรมทำบาปอกุศล แม้บุญเก่าจะทำมาดีให้ได้เกิดเป็นพระราชา แต่ถ้าประมาทใช้ตำแหน่งหน้าที่ในทางที่ผิด ย่อมมีทุคติเป็นที่ไป
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ความโลภทำให้คนมืดบอด
ทันทีที่เข้าไปในเมืองนั้น เขาเห็นนายประตูทูนจักรกรด หมุนบดขยี้อยู่บนศีรษะ แต่เขากลับมองเห็นเหมือนมงกุฎดอกบัว และมองเห็นเครื่องจองจำ ๕ ชิ้นที่หน้าอก เหมือนเป็นสังวาลย์เครื่องประดับของเทวดา ส่วนโลหิตที่ไหลจากศีรษะ ก็มองเห็นเป็นจันทน์แดงที่ชะโลมทา และเสียงครวญครางของสัตว์นรก ก็ฟังเป็นเสียงเพลงขับที่ไพเราะ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - เปลี่ยนวิถีชีวิตด้วยบุญบารมี
เรื่องมีอยู่ว่า พญาปฐวินทรนาคราช ผู้ได้เสวยสุขอยู่ในนาคพิภพ สมบูรณ์ด้วยสมบัติอันโอฬารล้วนด้วยรัตนชาติ พรั่งพร้อมด้วยเบญจกามคุณทั้งห้า ครั้นได้เสวยสุขสมบัติอันซ้ำซากจำเจอย่างนั้นนานวันเข้า เกิดความเบื่อหน่ายในนาคพิภพ อันเป็นปกติของหมู่สัตว์ที่ต้องเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ จึงดำริอยู่ในใจว่า"แม้เราจะสมบูรณ์พรั่งพร้อมด้วยรัตนสมบัติมากมาย แต่ก็ไม่ได้ประเสริฐเท่าใด เพราะยังไม่พ้นจากกำเนิดของสัตว์ที่ต้องเลื้อยคลานไปได้"
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - สมบัติเคียงคู่ผู้มีบุญ
จะเห็นได้ว่า ใครมีบุญ สมบัติจะไปอยู่กับคนนั้น นายควาญช้างเป็นผู้สั่งสมบุญไว้ดีแล้วในกาลก่อน บุญนั้นจึงส่งผลให้เขาได้เป็นพระราชา เหมือนดังที่พระบรมศาสดาได้ตรัสพระคาถาในสิริชาดก ติกนิบาตว่า
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - ชีวิตและชาติพินาศเพราะสุรา
สุรา ดื่มแล้วจะเมามายขาดสติเดินโซเซตกลงไปในบ่อ ในหลุมน้ำครำ หรือหลุมโสโครกก็ได้ จะกล้ากินของที่ไม่ควรกิน จะเที่ยวไปในที่ต่างๆ โดยไม่มีจุดหมาย จะทำตัวเหมือนคนอนาถา กล้าฟ้อนรำขับร้องโดยไม่อายใคร กล้าเปลือยกายเดินตามถนนหนทาง จะมีจิตลุ่มหลง นอนตื่นสาย แม้ไฟไหม้ก็ยังนอนอยู่ได้ จะนอนจมอยู่ในอาเจียนของตนก็ได้ จะนั่งคุยโวพร่ำเพ้อในที่ประชุมชน และมักจะทำสิ่งทุจริตต่างๆ จนถูกจองจำ ถูกฆ่า และเสื่อมจากโภคทรัพย์สมบัติทั้งหลาย
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฎฐิ (๙)
พระเจ้าอังคติราชสดับเช่นนั้นแล้ว เกิดความสลดสังเวช กลัวที่จะต้องไปบังเกิดในมหานรก จึงตรัสว่า "บัด นี้ ข้าพเจ้าแทบจะล้มเหมือนต้นไม้ที่ถูกตัด ข้าพเจ้าหลงผิดจึงไม่รู้จักทิศ ท่านฤๅษี ขอท่านจงเป็นที่พึ่งของข้าพเจ้า เสมือนกับน้ำดื่มแก้กระหายในเวลากระหายน้ำ ขอท่านจงเป็นเหมือนเกาะเป็นที่อาศัยในห้วงมหาสมุทร และขอท่านจงเป็นเหมือนประทีปส่องสว่างในที่มืดของข้าพเจ้าด้วยเถิด
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฎฐิ (๘)
เพราะกรรมเจ้าชู้ที่หม่อมฉันเคยทำไว้นั้นตามมาทัน คือ หลังจากหม่อมฉันจุติจากตระกูลเศรษฐีนั้นแล้ว ก็ไปหมกไหม้อยู่ในโรรุวมหานรกเป็นเวลายาวนาน ได้รับความทุกข์อันแสนสาหัส ไม่มีความสุขแม้เพียงครู่เดียว ครั้นพ้นจากมหานรกแล้ว ได้เกิดเป็นลาที่ต้องถูกตอน และถูกใช้งานตลอดชีวิต