พระสถูปเจดีย์ คือ สัญลักษณ์แสดงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา
ร้างขาดการดูแล จนกระทั่งมีนักโบราณคดีทำการขุดค้นโบราณสถานต่าง ๆ ในอินเดีย...
ปกิณกธรรม สร้างวัดศูนย์กลางการเผยแผ่พุทธธรรม
จงก้าวเดินต่อไปเถิดท่านเศรษฐี ข้างแสนหนึ่ง ม้าแสนหนึ่ง รถเทียมด้วยม้าอัสดรแสนหนึ่งก็ไม่ถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แห่งการย่างก้าวเท้าไปหาพระบรมศาสดา ขอท่านจงก้าวเดินต่อไป
มงคลที่ ๓๕ จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม - กาลเวลาพิสูจน์ความดี
ในตอนเย็น จึงเริ่มแผนการด้วยการเดินมุ่งหน้าไปวัดพระเชตวัน แต่งตัวเรียบร้อย ถือดอกไม้ของหอมเข้าไป เดินสวนทางกับสาธุชนทั้งหลายที่กลับจากการฟังธรรม เมื่อเดินสวนทางกัน คนก็สงสัย จึงถามว่า “นี่เธอจะไปไหนล่ะ” นางตอบว่า “ฉันจะเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้า”
มงคลที่ ๒๖ ฟังธรรมตลอดกาล - นางยักษิณี ผู้ใคร่ในธรรม
นางยักษิณีตนหนึ่ง ได้อุ้มอุตราผู้เป็นธิดา และจูงปุนัพพสุผู้เป็นลูกชายแสวงหาอาหารริมกำแพง และริมคูคลองหลังวัดพระเชตวัน เมื่อไปถึงซุ้มประตู นางก็เห็นพุทธบริษัทสงบนิ่งไม่ไหวติง ฟังธรรมด้วยความเคารพในพระพุทธเจ้า เหมือนเปลวประทีปตั้งไว้ในที่ที่ไม่มีลม จึงเกิดความเลื่อมใสแล้วคิดว่า ก็ในที่นี้คงจะมีของแจกให้เรากิน เพื่อประทังชีวิตได้แน่
รักษาศีลได้อานิสงส์ผลบุญอย่างไร
การรักษาศีลเป็นวิธีแห่งการสร้างความดี เพื่อความเป็นมงคลในชีวิต ศีลมีอานิสงส์หลายประการ เช่น ทำให้มีทรัพย์สมบัติและชื่อเสียงดี ช่วยให้มีจิตใจสงบและเข้าถึงความสุขแท้จริง
กำหนดการทอดกฐินสามัคคี วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 วัดพระธรรมกาย
กำหนดการทอดกฐินสามัคคี วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 วัดพระธรรมกาย สามารถร่วมพิธี On-line ได้ที่ลิงก์ www.dmc.tv/2564/od/1 ID Zoom : 820 3209 3423 Passcode : 072 หรือ youtube.com/gbnuslive / Facebook.com/gbnus
สัตตปัตตชาดก ชาดกว่าด้วยความสำคัญผิด
ข้อวินัยให้สงฆ์สาวกปฏิบัติแต่ละบทนั้น มักเกิดขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไม่เหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป พุทธกาลครั้งหนึ่งก็เป็นดังนั้น พุทธวินัยครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะพระฉัพพัคคีย์ 2 รูปล่วงพระวินัยข้อยึดถือในทรัพย์ มิได้ปล่อยวาง ปล่อยตัวปล่อยใจไปกับกิเลส ภิกษุผู้ก่อเหตุที่ว่านี้ชื่อ พระปัณฑกะ และพระโลหิถกะ
วัดพระธรรมกายโทชิหงิ จัดงานบุญฉลองครบรอบ 14 ปี
วัดพระธรรมกายโทชิหงิ ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดงานบุญฉลองครบรอบ 14 ปี วัดพระธรรมกายโทชิหงิ เพื่อระลึกถึงบุญที่ได้ทุ่มเทสร้างวัดไทยในต่างแดน เป็นดินแดนแห่งการสร้างบุญบารมีและเผยแผ่ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น
อานิสงส์บูชาสิ่งแทนพระพุทธองค์
“ดูกรอานนท์ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็นสถานที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา สังเวชนียสถาน ๔ แห่ง คือ.....
วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหลักคำสอนพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหรือไม่
ก่อนจะสรุปว่า “การสร้างวัดใหญ่” ผิดหรือถูก ก็อยากให้ลองเปิดพระไตรปิฎกศึกษาประวัติการสร้างที่ประทับของพระบรมศาสดาและการสร้างวัดในสมัยพุทธกาลกันเลยดีกว่า จะได้กระจ่างชัดว่า..วัดพระธรรมกายสร้างใหญ่ผิดหรือไม่ ?