ธุดงค์ธรรมชัย ... การเห็นสมณะเป็นมงคลอย่างยิ่ง
สมณะแปลตรงตัวได้ว่า ผู้สงบ (หมายถึงผู้อยู่ในสมณเพศ) คุณสมบัติของสมณะประกอบด้วย 3 อย่างคือ 1.สงบกาย คือมีความสำรวมในการกระทำทุกอย่าง รวมถึงกิริยา มรรยาท ตามหลักศีลธรรม ... 2.สงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของความพอดี มีความสุภาพสงบเสงี่ยมในคำพูดและภาษาที่ใช้ เป็นไปตามข้อปฏิบัติ ประเพณี ... 3.สงบใจ คือการทำใจให้สงบปราศจากกิเลสครอบงำ ไม่ว่าจะเป็น โลภ โกรธ หลง หรือความพยาบาทใดๆ ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิภาวนา
ธุดงค์ธรรมชัยกลิ่นศีล กลิ่นธรรม
ถ้าอยากรู้ว่าเรามีความสะอาดในการกล่าววาจามากน้อยแค่ไหน พระอรรถกถาจารย์ได้วินิจฉัยไว้ ดังนี้ คือ 1. พูดเรื่องไม่จริง 2. มีจิตคิดจะพูดให้ผิดไปจากความจริง 3. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง 4. คนฟังเข้าใจความหมายตามที่พูดนั้น
Review รายการการโพสต์บน Social Network
ในสมัยก่อนการทำผิดศีลทางวาจา เช่น การโกหกการนินทาว่าร้าย จะทำด้วยการพูดแบบปากต่อปาก แต่ปัจจุบันการทำผิดศีลทางวาจาถูกเพิ่มช่องทางขึ้นอีกในโลกของ Social Network แค่กดคลิกเดียวก็สามารถส่งผ่านข้อมูลไปถึงคนเป็นแสนเป็นล้าน ข้ามทวีป ข้ามประเทศ
ธรรมะสอนใจพระอรหันต์ตุ่ม
ดูก่อนเธอผู้เห็นภัยในวัฏสงสารทั้งหลาย เมื่อเธอได้มีการพบปะกันในระหว่างสองรูปแล้ว สิ่งที่เธอควรประพฤติต่อกันมีอยู่สองสถานคือ ควรกล่าววาจาที่เกี่ยวกับธรรมะอย่างหนึ่ง และเมื่อไม่มีอะไรต้องกล่าวเธอพึงเป็นผู้นิ่งเสีย
ธรรมะเพื่อประชาชนกรรมของการคดโกงลูกค้า
บุคคลพึงกล่าวแต่วาจาที่ไม่เป็นเหตุยังตนให้เดือดร้อนและไม่เป็นเหตุเบียดเบียนผู้อื่น วาจานั้นแลเป็นสุภาษิต บุคคลพึงกล่าวแต่วาจาอันเป็นที่รัก ที่ชนทั้งหลายชื่นชมแล้ว ไม่ถือเอาคำที่ชั่วช้าทั้งหลาย พึงกล่าวแต่วาจาอันเป็นที่รักแก่ชนเหล่าอื่น
ธรรมะเพื่อประชาชนโทษของการว่าร้ายผู้อื่น
พูดแต่วาจาสุภาษิต ซึ่งพระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ถ้าอารยชนใคร่จะพูด ก็เป็นผู้ฉลาด รู้จักกาล พูดแต่ถ้อยคำที่ประกอบด้วยเหตุผลที่อารยชนประพฤติกัน ไม่พูดด้วยความโกรธ ไม่ยกตัว มีใจสงบ ไม่ตีเสมอ ไม่ก้าวร้าว ไม่พูดเอาหน้า รู้ชอบแล้วจึงกล่าว ถ้าเขาพูดดีพูดถูกก็อนุโมทนา เมื่อคนอื่นพูดผิด ก็ไม่รุกราน เขาพูดพลั้งไปบ้างก็ไม่ถือสาหาความ ไม่พูดพล่าม ไม่พูดเหยียบย่ำคนอื่น การพูดของสัตบุรุษ เป็นการพูดเพื่อให้เกิดความรู้ประเทืองปัญญา อารยชนมีปกติสนทนากันอย่างนี้
ธรรมะเพื่อประชาชนสังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
Review รายการออกแบบชีวิตด้วยศีล
ศีลแต่ละข้อมีอานิสงส์ช่วยออกแบบชีวิตเราให้มีรูปสมบัติและสิ่งที่น่าปรารถนาต่างๆอีกมากมายในชาติต่อๆไปแม้ในปัจจุบันชาติ อานิสงส์ของศีลก็ยังสามารถปรากฎให้เห็นทันตาได้ดังตัวอย่างของพระภิกษุ สามเณร ที่รักษาศีลได้บริสุทธิ์บริบูรณ์จะมีผิวพรรณวรรณะผ่องใส กิริยาวาจาเรียบร้อย อ่อนโยน สงบเสงี่ยม สง่างาม น่าศรัทธาเลื่อมใส
แก้กรรม-รู้ทันวิบากกรรมมงคลที่ ๑๗ สงเคราะห์ญาติ - สังคหวัตถุธรรม
ท่านหัตถกะทูลตอบว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ ได้สงเคราะห์เพื่อนๆ และบริวารมากมายด้วยสังคหวัตถุ ๔ คือ ถ้ารู้ว่าผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการให้ทาน ข้าพระองค์จะสงเคราะห์ ด้วยการให้ทาน ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยวาจาที่อ่อนหวาน ข้าพระองค์จะสงเคราะห์ด้วยวาจาที่อ่อนหวาน ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ ข้าพระองค์สงเคราะห์ด้วยการประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์ ผู้นี้ควรสงเคราะห์ด้วยการวางตัวให้เหมาะสม ข้าพระองค์ก็จะสงเคราะห์ด้วยการวางตัวให้เหมาะสม พระเจ้าข้า
ธรรมะเพื่อประชาชน