พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และพระคุณของพระองค์ ก็เป็นอจินไตย
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สู่เส้นทางนิพพาน
พระบรมศาสดาประทานพระโอวาทว่า "อานนท์ เธอเป็นผู้ที่ได้ทำบุญไว้ดีแล้ว ในบรรดาพุทธอุปัฏฐากทั้งหลายในภัทรกัปนี้ เธอเป็นยอดของอุปัฏฐากเหล่านั้น เพราะฉะนั้น เธอจงหมั่นประกอบความเพียรเถิด จักเป็นผู้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะในภพชาตินี้" แล้วท่านพระอานนท์ ท่านได้บรรลุธรรมโดยขณะที่กำลังเองหลังลงนอน เรื่องราวเป็นอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ทำอย่างไรถึงมีความสุข
วิธีการง่ายๆ ที่จะทำให้ทุกข์ทั้งหลายมากล้ำกรายเราไม่ได้ คือ การปฏิบัติตามหลักธรรมที่พระบรมศาสดาทรงประทานไว้แก่พระอรหันตสาวก ๑,๒๕๐ องค์ในวันมาฆบูชาว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำบาปทั้งปวง เพราะผลของบาปคือความทุกข์ ตั้งแต่งดเว้นจากกรรมกิเลส ๔ ประการ คือ
พระศรีอริยเมตไตรย์ ตอนที่ 4 ฉัพพรรณรังสีของพระสุมังคลพุทธเจ้า
พระรัศมีของพระมังคลสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น จะเป็นสีทองและแผ่ออกไปตลอดหมื่นโลกธาตุ
ความหลากหลายของเปรต (๑)
การร้องไห้ก็ดี ความเศร้าโศกก็ดี การพิไรร่ำไรก็ดี บุคคลไม่ควรทำเลย เพราะการร้องไห้เป็นต้นนั้น ไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว ญาติทั้งหลายก็คงดำรงอยู่อย่างนั้น ทักษิณาทานที่ให้แล้ว ตั้งไว้ดีแล้วในสงฆ์ ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ชนผู้ล่วงลับไปโดยพลันสิ้นกาลนาน
ผลแห่งการยึดมั่นในพระรัตนตรัย
ภิกษุทั้งหลาย เมื่อบุคคลระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ ความกลัว ความครั่นคร้าม ความขนพองสยองเกล้า จักไม่มี
กลิ่นปุปผชาติ ก็หอมทวนลมไม่ได้
กลิ่นปุปผชาติ ก็หอมทวนลมไม่ได้ กลิ่นจันทน์ กฤษณา หรือดอกมะลิ ก็หอมทวนลมไม่ได้ แต่กลิ่นสัตบุรุษ หอมทวนลมได้
มงคลที่ ๒๕ มีความกตัญญู - สุวรรณสาม ยอดกตัญญู
พระราชาได้สดับถ้อยคำอันอ่อนโยน จึงดำริว่าบุรุษผู้นี้ แม้ถูกเรายิงด้วยลูกศรล้มลงแล้ว ไม่ด่าบริภาษเรา ยังเรียกหาเรา ด้วยถ้อยคำที่อ่อนโยนน่ารัก น่าพอใจจึงเสด็จเข้าไปใกล้ สุวรรณสาม ตรัสว่า เราเป็นพระราชา
เม็กซิโก ประตูสู่อเมริกาใต้
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ระบุได้ว่า เม็กซิโกเป็นประเทศเก่าแก่ มีการทำเกษตรกรรม มากว่า 7,000ปีก่อนคริสตกาล และเป็นที่ตั้งอาณาจักรโบราณอันยิ่งใหญ่ เช่น มายา ซึ่งมีความเจริญทั้งในด้านสถาปัตยกรรม, วิศวกรรมและดาราศาสตร์ ชาวมายาสร้างวิหารใหญ่โตอลังการ
ภิกษุผู้ยินดีในความไม่ประมาท
ภิกษุผู้ยินดีในความไม่ประมาท เห็นภัยในความประมาท ย่อมเผากิเลสเครื่องผูกมัดได้ เหมือนไฟเผาเชื้อทุกชนิด