วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (4)
ผู้ครองเรือนไม่ควรบริโภคอาหารที่มีรสอร่อยแต่ผู้เดียว ไม่ควรซ่องเสพถ้อยคำให้ติดอยู่ในโลก ที่ไม่เกื้อกูลต่อสวรรค์และนิพพาน เพราะถ้อยคำเช่นนั้น ไม่ทำให้ปัญญาเจริญได้เลย ผู้ครองเรือนพึงเป็นผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยวัตร ไม่ประมาท มีปัญญาเครื่องสอดส่องเหตุผล มีความประพฤติถ่อมตน ไม่เป็นคนตระหนี่ถี่เหนียว เป็นผู้สงบเสงี่ยม มีวาจาเป็นมิตร
ธรรมเนียมปฏิบัติต่อผู้ใกล้ตาย
ธรรมเนียมปฏิบัติต่อผู้ใกล้ตาย เป็นหน้าที่ของพวกญาติมิตรที่ต้องทราบเพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง แม้บางครั้งอาจจะไม่ถูกใจของญาติมิตรบางคน หรือแม้แต่ผู้ที่ใกล้ตายก็ตาม แต่ก็เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำเพื่อคนใกล้ตาย
พิธีถวายโคมมาฆประทีป
ทีปโท โหติ จกฺขุโท ผู้ให้ประทีปโคมไฟชื่อว่าให้จักษุ ในคืนวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ของทุกปี ภาพแห่งเปลวประทีปธรรม ได้ถูกจุดขึ้นพร้อมกันนับแสนดวง เพื่อน้อมถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ณ ลานธรรม มหาธรรมกายเจดีย์ โดยเฉพาะในปีนี้ จะเป็นปีที่พิเศษกว่าทุกปีที่ผ่านมา เพราะจะมีพุทธบุตรในโครงการอุปสมบทหมู่ 100,000 รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย มาร่วมจุดโคมประทีปด้วย ดังนั้น จึงขอเรียนเชิญกัลยาณมิตร และสาธุชนทั่วโลก ได้ร่วมพิธีถวาย "กองทุนโคมมาฆประทีป" เพื่อใช้ประกอบพิธีจุดโคมประทีปถวายเป็นพุทธบูชา
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (3)
รสเหล่าใดมีอยู่ในแผ่นดิน สัจจะเป็นรสที่ยังประโยชน์ให้สำเร็จกว่ารสเหล่านั้น เพราะว่าสมณพราหมณ์ผู้ตั้งอยู่ในสัจจะย่อมข้ามพ้นฝั่งแห่งชาติและมรณะได้
สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 3 สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนเหลือเกินที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยเหลือเกินฉะนั้น
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 4 โชติบาลกุมาร)
ความดี คนดีทำง่าย ความดี คนชั่วทำยาก ความชั่ว คนชั่วทำง่าย ความชั่ว อริยบุคคลทำได้ยาก
มหาโควินทสูตร (ตอนที่ 6 ขอลาบวช)
ชีวิตมีอายุน้อย ถูกชราต้อนเข้าไป ชีวิตที่ถูกชราต้อนเข้าไปแล้ว ย่อมต้านทานไม่ได้ ผู้เห็นภัยในความตายนี้มุ่งต่อสันติ พึงละโลกามิสเสีย