ข่าวจากโพสต์ทูเดย์ วัดพระธรรมกาย ช่วยพระพุทธศาสนาให้หยั่งรากลึกในยุโรป
คนไทยในประเทศยุโรปมีที่พึ่งทางใจ มีที่ปฏิบัติภาวนา สร้างสรรค์เส้นทางบุญกันได้มากขึ้น เมื่อวัดพระธรรมกายตั้งสาขาวัดในยุโรป 10 ประเทศ รวมถึง 21 วัด ยังมีแผนขยายให้มากขึ้นอีก ที่มีผลงานขนาดนี้นอกจากวิสัยทัศน์ยาวไกลของพระเถระจากวัดพระธรรมกายในเมืองไทยแล้ว ข่าวเด่น,
พิธีต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
การเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์พระสงฆ์ประจำปี พ.ศ. 2557
“ในหลวง” โปรดเกล้าฯ สถาปนา เลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ พระสงฆ์ประจำปี 2557 วัดไตรมิตรฯ เป็น “สมเด็จพระพุฒาจารย์” รูปใหม่ ขณะที่ “พระธรรมกิตติวงศ์” วัดราชโอรสาราม ขึ้นรองสมเด็จที่ราชทินนาม “พระมหาโพธิวงศาจารย์” ส่วน “หลวงพ่อเณร-พระราชพิพัฒนโกศล” วัดศรีสุดาราม เป็น “พระเทพประสิทธิมนต์” พระนักพัฒนาจากวัดกระทุ่มแพ้ว จ.ปราจีนบุรี เป็นเจ้าคุณใหม่ที่ “พระสิทธิวีรานุวัฒน์”
กลุ่มกล้าดี ม. รามคำแหง จัดปฏิบัติธรรม
กลุ่มกล้าดี มหาวิทยาลัยรามคำแหง เปิดศูนย์ปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร โดยได้รับความสนใจจากน้องๆนักศึกษาเข้าร่วมสวดมนต์ ปฏิบัติธรรมกันเป็นจำนวนมาก
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (3)
ลูกเอ๋ย ลูกอย่าเชื่อคำนั้น ข่าวที่ว่า สุคติจะมีเพราะเอาบุตรไปบูชายัญ ทางนั้นเป็นทางไปนรก ไม่ใช่ทางไปสวรรค์ ลูกรัก ลูกจงให้ทาน อย่าได้เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง นี่เป็นทางไปสู่สุคติสวรรค์ ส่วนการไปสู่สุคติ ไม่ใช่เพราะเอาบุตรบูชายัญ
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย วันศุกร์ ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 20.00 น. ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (1)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทน ๕ ประการ คือ ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อานิสงส์ของความอดทนมี ๕ ประการเช่นนี้แล
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (2)
ภิกษุทั้งหลาย ผู้ประกอบด้วยความอดทน ย่อมไม่หลงทำกาละ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
จันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี (4)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์