พิธีต้อนรับสัญญาบัตรและพัดยศ พระครูสัญญาบัตรวัดพระธรรมกาย จำนวน 19 รูป
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดพิธีเจริญชัยมงคลคาถา ต้อนรับสัญญาบัตร พัดยศ ถวายมุทิตาสักการะแด่พระครูสัญญาบัตร เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดพระราชทานเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ จำนวน 19 รูป
ประวัติพระสุธรรมญาณวิเทศ (สุธรรม สุธมฺโม)
วัดพระธรรมกาย มอบเจลแอลกอฮอล์ และหน้ากากอนามัยสีส้ม สำหรับพระภิกษุ มจร.
วัดพระธรรมกาย ได้มอบเจลแอลกอฮอล์ และหน้ากากอนามัยสีส้ม สำหรับพระภิกษุ เพื่อสนับสนุนโครงการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน สำหรับพระนิสิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๑)
ดังที่ทราบกันโดยทั่วไปอยู่แล้วว่า พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ตั้งใจศึกษาความรู้ในพระพุทธศาสนา..
อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม
ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนาของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียนวรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษรธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า “อักษรธรรมล้านนา”
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์กับงานด้านศาสนศึกษา
งานด้านศาสนศึกษา หมายถึง การกิจในการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ เช่น แผนกธรรมหรือบาลี รวมทั้งการส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม เช่น การอบรมก่อนสอบ, การสอบนักธรรม-บาลี, การมอบทุกวัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา และการจัดตั้งมูลนิธิ หรือกองทุนเพื่อการศึกษา
๔๙ พรรษา วันธรรมชัย วันแห่งชัยชนะโดยธรรม
เมื่อถึงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ของทุกปี เหล่าศิษยานุศิษย์กัลยาณมิตรทั้งหลายต่างรำลึกเสมอว่าเป็น “วันธรรมชัย” (วันแห่งชัยชนะโดยธรรม) คือ วันที่หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายและประธานมูลนิธิธรรมกาย เข้าบรรพชาอุปสมบท ณ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...ก้าวสู่รัตนโกสินทร์ตอนกลาง
แผ่นดินสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นยุคที่สยามเปิดประเทศสู่อารยธรรมตะวันตกและเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาชาติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม
ธุดงค์ธรรมชัยฟื้นฟูพระพุทธศาสนา ตอน ทุกย่างก้าวเพื่อการฟื้นฟูพระพุทธศาสนา (พัฒนาวัดกองก๋อย)
ปัจจุบันวัดกองก๋อย มีพระอธิการชยุธ ชวนปญฺโญ เจ้าอาวาส อยู่รักษาวัดพัฒนาวัดเพียงลำพังรูปเดียวทำให้วัดกองก๋อยที่เคยรกร้างกลับมาสดใส
วัดโบสถ์บน สถานที่บรรลุวิชชาธรรมกายของพระผู้ปราบมาร
วัดโบสถ์บน บางคูเวียง ตั้งอยู่ริมคลองบางกอกน้อยฝั่งตะวันตก ตำบลบางคูเวียง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เป็นวัดเก่าแก่สร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย ซึ่งยังอนุรักษ์โบราณสถานไว้ในสภาพสมบูรณ์ ประวัติความเป็นมาและผ้สู ร้างวัดโบสถ์บนบางคูเวียง ไม่แน่ชัด แต่มีเรื่องเล่าที่ปรากฏในหนังสือวัดทั่วราชอาณาจักร เล่ม 2 (พิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2526) ว่าพระมหากษัตริย์ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเคยเสด็จมาประทับอยู่บริเวณที่ตั้งวัดนี้ ภายหลังทรงยกที่ดินให้สร้างเป็นวัด โดยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถาวรวัตถุที่เป็นศิลปกรรมแบบอยุธยา มีเอกลักษณ์ คือ พระอุโบสถเป็นรูปทรงเรือสำเภา อันหมายถึงการเดินทางสัญจรและการค้าในอดีต สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2300 ในสมัยอยุธยาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2310