The benefits from studying on True Friend characteristics
“…the wise man [pandita] knows four kinds of True Friends well. They are: The Helpful Friend [upakaraka], the Constant Friend [samanasukhadukkha]
คิดอย่างนี้ คิดได้ไง
สามีชอบล่าสัตว์ เพราะคิดว่าเป็นเกมกีฬา ภรรยาชอบทำบุญตักบาตรเสมอ …ชีวิตหลังความตายของทั้งสองคนจะเป็นอย่างไร …ทำไม บางคนจึงมีอายุยืน สุขภาพแข็งแรง …ทำไม บางคนก่อนมาสร้างบารมีกับหมู่คณะ จะต้องไปนับถือความเชื่ออื่นก่อน …ที่นี่มีคำตอบ…
สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย ถวายพระบรมสารีริกธาตุเจ้าอาวาสวัด Truc Lam Chann Giac
กอง AEC สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย ได้น้อมนำอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ถวายให้กับเจ้าอาวาสวัด Truc Lam Chann Giac และเยี่ยมชมจำลองสังเวชนียสถาน 4 แห่ง ในประเทศเวียดนาม
ปุณณปาติกชาดก ชาดกว่าด้วยความฉลาดทันคน
ย้อนไปในอดีตกาล สมัยที่พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชย์สมบัติ ณ กรุงพาราณสี ในครั้งนั้นยังมีนักเลงเหล้านั่งล้อมวงดื่มเหล้า เมาเป็นอาจิณ
วรุณชาดก ชาดกว่าด้วยการทำไม่ถูกขั้นตอน
ย้อนไปในสมัยพุทธกาล ณ พระเชตวันมหาวิหารอันเป็นที่ประทับของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังมีกุลบุตรชาวเมืองสาวัตถีซึ่งเป็นสหายกันประมาณ 30 คน ถือของหอม ดอกไม้และผ้า คิดกันว่าจะเข้าเฝ้าฟังพระธรรมเทศนาของพระศาสดา จึงได้พากันไปยังวิหารเชตวันและได้นั่งพักในโรงนา คมาฬกะ วิสาลมาฬกะ เพื่อรอเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
สัจจังกิรชาดก ชาดกว่าด้วยไม้ลอยน้ำดีกว่าคนอกตัญญู
พระฤาษีได้ช่วยเหลือทุฏฐกุมารผู้มีใจโหดร้ายให้รอดพ้นจากกระแสน้ำที่ไหลหลาก แต่ทุฏฐกุมารกลับโกรธแค้นที่ฤาษีดูแลและให้ความสำคัญกับชีวิตสัตว์มากกว่าตน เลยผูกใจเจ็บและได้สั่งตัดหัวพระฤาษีทันทีเมื่อได้โอกาส
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 4 วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 4 วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2558 กิจกรรมพิเศษ ณ สถานที่เผยแผ่วิชชาธรรมกาย (ครั้งแรกหลังจากบรรลุธรรม) : วัดบางปลา
Vesak Day - The International Day
The Lord Buddha's biography. How does it relate with Vesak Day? The Buddhists don't miss!!
การเดินทางไปสู่ปรโลก-วงจรชีวิต
พระพุทธเจ้าตรัสว่า จิตผ่องใสไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นที่ไป เมื่อจิตเศร้าหมอง ไม่ผ่องใส ทุคติเป็นที่ไป ส่วนใจที่ไม่ใสไม่หมอง ไปได้ทั้งสุคติ และทุคติหรืออาจจะไปยมโลกก็ได้
The Noble Truth of Suffering : 3. Suffering as a result of Illness [byadhi dukkha]
The Lord Buddha taught that suffering as a result of illness comes from the malfunction of the bodily elements