จิตของชาวเอเชียกับชาวตะวันตก
คำถาม : จิตของชาวเอเชียและชาวตะวันตก แตกต่างกันหรือไม่ครับ
ติงทีวีรัฐมองผู้ชมเป็นผู้บริโภค เน้นประวัติศาสตร์-ภาษาน้อย
พบจิตรกรรมโบราณสอน “พุทธศาสนา” บนผนังถ้ำในชนบทเนปาล
รายนามผู้ได้รับรางวัลพุทธคุณูปการ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2554
รางวัลนี้มอบโดยการกลั่นกรองจากคณะอนุกรรมาธิการการของรัฐสภา ซึ่งถือว่าเป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทย เป็นเครื่องหมายหนึ่งที่แสดงถึงการให้ความสำคัญแก่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยและความสำคัญของรางวัลนี้ ที่มอบให้แก่ผู้ทุ่มเททั้งกายและใจ ทั้งพระสงฆ์ บุคคลทั่วไป และองค์กร ที่มีความตั้งใจ ทุ่มเท เสียสละ และอุทิศชีวิตเพื่อพระพุทธศาสนา
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวอินโด
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวอินโด ประชากร ส่วนใหญ่เป็นสายมาเลย์ประมาณร้อยละ 95 ที่เหลือเป็นอินโด อาหรับ จีน และชาวยุโรป แต่ถ้าแบ่งตามหลักฐานชาติวงศ์วิทยาแล้ว ถือว่ามีต้นกำเนิดมาจาก 365 เชื้อชาติ รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ได้ 4 กลุ่ม คือ เมเลเนเซียน (Melanesians) โปรโตออโตรเนเซียน (Proto – Autronesians) โพลีเนเซียน (Polynesians) และโมโครเนเซียน (Micronesians) ชาวอินโดนีเซียจะมีตาคม ผมดำ ผิวสีน้ำตาล กระดูกแก้มกว้าง ตาเล็ก จมูกใหญ่ มีความสูงประมาณ 5 – 6 ฟุต ใกล้เคียงกับความสูงของคนไทย
วุฒิธรรม (คุณธรรมที่ก่อให้เกิดความเจริญงอกงาม)
วุฒิธรรม หรือ วุฒิ 4 ธรรมหมวดนี้ ในบาลี เรียกว่า ธรรมที่เป็นไปเพื่อปัญญาวุฒิ (ปัญญาวุฒิธรรม) คือ เพื่อความเจริญงอกงามแห่งปัญญา
วัฒนธรรม ประเพณี เกม และการละเล่นพื้นเมืองของประเทศมาเลเซีย
วัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมของมาเลเซียรุ่งเรืองและเต็มไปด้วยสีสัน และได้รับการสืบสานมาอย่างยาวนาน ประเทศมาเลเซียมีการร่ายรำ การละเล่น และ เทศกาลงานประเพณีที่น่าสนใจมากมาย
ศูนย์กลางกายสลายความแตกต่าง
ดิฉันคิดว่า สมาธิคือของสากล ไม่ใช่สำหรับศาสนาพุทธเท่านั้น แต่ทุกคนสามารถทำสมาธิได้ โดยไม่ต้องคำนึงถึงอายุ ศาสนา วัฒนธรรม และเชื้อชาติค่ะ เราทุกคนสามารถรวมกันเป็นหนึ่งเดียวกันได้ด้วยสมาธิ เราทุกคนรวมกันเป็นหนึ่ง และหนึ่งเดียวคือเราทุกคน
เป็น อยู่ คือ วิถีชีวิตชาวมาเลเซีย
สังคมมาเลเซียมีลักษณ์เป็น พหุสังคม (Multiracial Society) ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ได้แก่ มาเลย์ จีน และอินเดียแต่ละเชื้อชาติมีความแตกต่างทางภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่
หนังสือแจ้ง กรณี เมส อาแน็ค จากรัฐบาลอัฟกานิสถานล่าสุด มีนโยบายปกป้อง Mes Aynak
คณะกรรมมาธิการ การศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมสภาผู้แทนราษฎร(กมธ.) ได้หารือกับผู้แทนกระทรวงต่างประเทศ และล่าสุดได้ส่งหนังสือทางการแจ้งความคืบหน้า โดยกล่าวถึง รายงานจาก ฯพณฯ มาวิน ตันอรรถนาวิน เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงอิสลามาบัด สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ระบุรัฐบาลอัฟกานิสถาน มีนโยบายที่จะรักษาโบราณสถานแห่งนี้