หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
ธรรมยาตรา กตัญญูบูชา มหาปูชนียาจารย์ พระผู้ปราบมาร อนุสรณ์สถาน 7 แห่ง ปีที่ 5 วันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2559
ธรรมยาตรา กตัญญูบูชา มหาปูชนียาจารย์ พระผู้ปราบมาร อนุสรณ์สถาน 7 แห่ง ปีที่ 5 วันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2559 พัฒนา 1.วัดบ่อทอง ตำบลคูขวาง อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี 2.วัดศิลามูล อ.บางเลน จ.นครปฐม 3.อนุสรณ์สถานแห่งที่ 1 มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี(สด จนฺทสโร) สถานที่เกิดด้วยกายเนื้อ ตั้งอยู่บนแผ่นดิน รูปดอกบัว(โลตัสแลนด์) อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี 4.วัดตรีพาราสีมาเขต อ.ลาดบัวหลวง พระนครศรีอยุธยา
พิธีมอบรางวัลบุคคลคุณธรรมประจำปี 2557
มูลนิธิธรรมลักษณ์ศิลา ได้จัดพิธีมอบรางวัลบุคคลคุณธรรมประจำปี 2557
เกาะติดสถานการณ์ธุดงค์ธรรมชัยเส้นทางพระผู้ปราบมารวันที่ 11 มกราคม 2557
บรรยากาศสุดปลื้มในวันนี้ เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ก้าวแรก เมื่อพระครูปรีชาปริยัติกิจ เจ้าอาวาสวัดศิลามูล อายุ 93 ปี ทีแรกท่านนั่งรอส่งพระธุดงค์ในหอฉัน เพราะท่านเดินไม่ค่อยสะดวกแถมสุขภาพไม่แข็งแรง แต่ด้วยความปลื้ม สุดท้ายท่านได้ออกมาโปรยดอกดาวรวยส่งพระธุดงค์ ท่านอยู่ส่งตั้งแต่รูปแรกไปจนถึงรูปสุดท้าย
ธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2557
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2557 จากวัดศิลามูลถึงวัดรางกำหยาด รวมระยะทาง 18.3 กิโลเมตร
ธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2557
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 3 วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2557 จากวัดสองพี่น้อง ถึงวัดศิลามูล รวมระยะทาง 19.05 กิโลเมตร
ศูนย์ฝึกอบรมพุทธบุตรนานาชาติจัดพิธีทอดผ้าป่า
ศูนย์ฝึกอบรมพุทธบุตรนานาชาติจัดพิธีทอดผ้าป่า วางศิลาฤกษ์และดวงแก้วมณีโชติรสอาคารเรียนรวม
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2556
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2556 จากวัดศิลามูลถึงวัดรางกำหยาด
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2556
ประมวลภาพธุดงค์ธรรมชัย ปีที่ 2 วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2556 โครงการธุดงค์ธรรมชัย เส้นทางมหาปูชนียาจารย์พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ปีที่ 2 จากวัดสองพี่น้องถึงวัดศิลามูล รวมระยะทาง 18.03 กิโลเมตร
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ จารึกศิลาฉบับที่สิบสามของพระเจ้าอโศกมหาราช