Answer by the Law of Kamma :- Aversion of the Temple
Surrounded by those Obstruct your Path to the Temple
กว่าจะคิดได้...ก็สายไปแล้ว
พ่อ-แม่...ท่านทำอะไรเพื่อเรามาตลอดชีวิต แล้วเราจะมาบวชตอบแทนบุญคุณท่าน บวชเอาบุญให้ท่านสักพรรษาไม่ได้เชียวหรือ
二番はいない4
เวทัพพชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษของการไม่รู้จักกาลเทศะ
พุทธกาลครั้งหนึ่งยังมีภิกษุชาวสาวัตถีรูปหนึ่ง มีความอวดดื้อถือดีจนเป็นที่เอือมระอาต่อภิกษุรูปอื่นๆ เมื่อพระพุทธองค์ทรงทราบท่านจึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณแล้วพบว่า ภิกษุรูปนี้เมื่อกาลก่อนก็เป็นผู้ว่ายากจนเป็นเหตุให้ตนเองและบุคคลเป็นพันๆ คน ต้องถึงแก่ความตาย
นันทชาดก-ชาดกว่าด้วยความมานะถือตัว
เมื่อฤดูฝนอย่างกรายมาถึงพระภิกษุทั้งหลายก็อยู่จำพรรษาตามพุทธบัญญัติ มิได้ออกเที่ยวจาริกที่ใดๆได้ตามปกติเป็นเวลานาน 3 เดือน ครั้นวสันตฤดูผ่านพ้นภิกษุในพระเชตะวันมหาวิหารก็พร้อมที่จะเดินทางออกไปเผยแผ่พุทธธรรมดังที่เคยกระทำต่อเนื่องกันมาอีกครั้ง
ชมรมพุทธศาสตร์สากล เปิดอบรมโครงการยุวพุทธศาสตร์สากล
ชมรมพุทธศาสตร์สากลในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เปิดโครงการยุวพุทธศาสตร์สากลและร่วมพิธีตักบาตรพระ 12,800 รูป ณ แผ่นดินเกิดพระเดชพระคุณพระมงคเทพมุนี ( สด จนฺทสโร) อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
130 ปี (พ.ศ.2557) พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2427 ถ้านับมาถึงปัจจุบันก็มีอายุถึง 130 ปี ท่านคือผู้ที่ค้นพบวิชชาธรรมกายกลับคืนมาอีกครั้งหนึ่งคือหลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว
การันทิยชาดก ชาดกว่าด้วยการทำที่เหลือวิสัย
“ พระคุณท่านคนเหล่านั้นเขาไม่ได้รักษาศีล ดังที่รับศีลไว้เลยนะขอรับ ” “ แต่นี้ต่อไปขอพระธรรมเสนาบดี จงหยุดให้ศีลแก่ผู้ไม่พอใจรับอีกเลย พวกพรานใจบาป นักเลงหัวขโมยพวกนั้น ไม่อาจขัดขืนถ้อยคำพระเถระเจ้า จึงรับศีลไป แต่จิตใจมิได้ยอมรับตามเลยแม้แต่น้อย ” ศิษย์ทั้งหลายของพระสารีบุตรกล่าวขอดังนี้อยู่หลายครั้ง แต่มิได้ทำให้การศีลหยุดลงแต่ประการใด “ ไม่เป็นไรหรอกรับศีลไปทุกวัน สักวันหนึ่งเขาก็คงประพฤติปฏิบัติศีลได้เอง
116 ปี คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
วันอาทิตย์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2568 วันคล้ายวันเกิดครบรอบ 116 ปี คุณยายมหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูงผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย
มูลกรรมฐานเรื่อง “เกสา” ตอนที่ 2
ศีรษะล้านเป็นความทุกข์ใจของใครหลายๆคน ในหนังสือตำนานหัวล้านไทยแบ่งประเภทของศีรษะล้านเป็นเก้าแบบ