พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (2)
ผู้ใดมีความเชื่อในตถาคต ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว มีศีลอันงามที่พระอริยะสรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของผู้นั้นไม่เปล่าประโยชน์ เพราะเหตุนั้น ผู้มีปัญญาเมื่อนึกถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ปสาทะ และความเห็นธรรมเนืองๆ เถิด
ความหมายของกายในคำว่าธรรมกาย
คำว่า ธรรมกาย เป็นศัพท์สมาส ที่อาจแปลเป็นคำคุณศัพท์ว่า ผู้มีธรรมเป็นกาย หรืออาจแปลเป็นคำนามก็ได้ว่า กายแห่งธรรม กายคือธรรมหรือ กายที่ประกอบด้วยธรรม
ยิ่งมองยิ่งงาม ตอนที่ 2
เรื่องราวของปู่ผง และ ลุงหลอม ผู้ที่เคยเป็นอุปัฏฐากให้กับมหาปูชนียาจารย์ พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี สด จันทสโร ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย …ผลจากการที่ได้อุปัฏฐากพระเดชพระคุณหลวงปู่ จะเป็นอย่างไร และทั้งสองท่านประกอบเหตุมาอย่างไร จึงเป็นผู้ที่ได้รับบุญลาภนี้
94 ปี วิชชาธรรมกาย ข่าวจากหนังสือพิมพ์สยามรัฐ
“ธรรมกาย” คือ กายตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า, “วิชชา” แปลว่า ความรู้แจ้ง, “วิชชาธรรมกาย” แปลว่า ความรู้แจ้งเรื่องธรรมกาย
การไปเที่ยวดิสโก้เธคหรือเที่ยวกลางคืนทางพุทธศาสนาถือว่าบาปหรือไม่
การไปเที่ยวดิสโก้เธคถือว่าเป็นอบายมุขชนิดหนึ่ง คนที่ประพฤติอย่างนั้น พระพุทธองค์ตรัสว่ากำลังเดินอยู่บนเส้นทางแห่งความหายนะ ความประพฤติบางอย่าง ที่เราไม่ได้ทำให้ใครเดือดร้อน แต่กามมันกำเริบโดยไม่รู้ตัว
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
ขอเชิญร่วมจัดพิมพ์หนังสือ "กฏแห่งกรรม" (ภาษาอังกฤษ)
ขอเรียนเชิญทุกท่านร่วมสร้างปัญญาบารมีด้วยการเป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์ "หนังสือกฏแห่งกรรม" (ภาษาอังกฤษ) สอบถามรายละเอียดได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 09-3567-7909 หมดเขตส่งรายชื่อวันที่ 20 กันยายน 2558
ประวัติหลวงพ่อธัมมชโย ตอน ประกายแห่งคำตอบ
และแล้ววันหนึ่งท่านได้พบหนังสือชื่อ “ธรรมกาย” ซึ่งเขียนตามแนวเทศนาของ พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ มีข้อความว่า.....
มงคลที่ ๙ มีวินัย - อานิสงส์แห่งศีล
พระปัญจสีลสมาทานิยเถระ เกิดเป็นคนยากไร้ ต้องทำงานรับจ้างอยู่ในนครจันทวดี แต่ท่านเป็นคนมีปัญญา สามารถสอนตนเองได้และรู้ถึงโทษภัยในสังสารวัฏ จึงปรารถนาอยากบวช แต่ก็ยังหาโอกาสไม่ได้ จึงคิดว่า เพราะเราเป็นคนยากไร้ ต้องทำงานรับจ้างเลี้ยงชีวิตไปวันหนึ่งๆ ไทยธรรมของเราที่จะมาทำทานก็ไม่มี จึงไม่สามารถให้ทานได้ อย่างไรก็ตาม ในภพชาตินี้อย่างน้อยเราก็ยังสามารถรักษาศีล ๕ ให้บริบูรณ์ได้
กระแสตัณหา
สัตว์ผู้กำหนัดแล้วด้วยราคะ ย่อมตกไปสู่กระแสตัณหา เหมือนแมงมุม ตกไปยังใยที่ตัวทำไว้เองฉะนั้น