ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ Five Precept ศีล 5
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่อง Five Precept = ศีล 5 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟังจะมีคำศัพท์ที่น่าสนใจอะไรบ้าง เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ศีล 5 คืออะไร มารักษาศีล 5 กันเถอะ
ศีล 5 คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำไมต้องรักษาศีล5 เราเข้าใจเรื่องศีล 5 มากน้อยแค่ไหน มาหาคำตอบเกี่ยวกับศีลห้ากันได้ที่นี่ค่ะ พร้อมภาพประกอบศีล 5 สวยๆ ...
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ 8 Precepts ศีล 8
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่องของ 8 Precepts = ศีล 8 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟัง จะมีวิธีการอธิบายอย่างไร เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ศีล 5 การสมาทานและรับศีล 5 อานิสงส์ของศีล
ศีล 5 การสมาทานศีล วิธีการสมาทานศีล 5 มี 3 แบบ คือ แบบสัมปัตตวิรัติ แบบสมาทานวิรัติ และแบบสมุจเฉทวิรัติ วิธีการรับศีลที่ถูกต้อง
ศีล..ทางมาแห่งรูปสมบัติ
ศีลเป็นบ่อเกิดแห่งความสงบ ความดีงาม เนื่องจากศีลเป็นคุณธรรมที่ช่วยรักษา กาย วาจาให้เป็นระเบียบเรียบร้อย การรักษาศีลให้บริสุทธิ์จะทำให้ใจสงบ ปลอดกังวล ช่วยให้สามารถบรรลุธรรมได้โดยง่าย
ศีล..สะพานข้ามสู่เทวโลก
“สีลํ เสตุ มเหสกฺโข สีลํ คนฺโธ อนุตฺตโร สีลํ วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน วาติ ทิโส ทิสํ ศีลเป็นสะพานข้ามฟากอันมีพลังมาก ศีลมีกลิ่นหอมอันยอดเยี่ยม ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐ บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมหอมฟุ้งไปทั่วสารทิศ” (ขุ.เถร.)
ทำไมถึงเกิดมาเป็นมนุษย์
ศีล 5 เป็นกฎธรรมชาติ เป็นนิสัยที่มนุษย์จะต้องปฏิบัติทุกคน ไม่ว่าจะมีเชื้อชาติ หรือศาสนาใดก็ตาม หากเป็นมนุษย์แล้วจะต้องปฏิบัติทุกคน หากไม่ปฏิบัติแล้ว จะนำมาซึ่งความเดือดร้อนต่อตนเองและสังคมโดยส่วนรวม
ทิพยสถานสำหรับผู้มีบุญ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเกิดในสวรรค์ เหมือนถูกเชิญมาเกิด ธรรม ๔ ประการคือ เป็นผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดเท็จ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล ย่อมบังเกิดในสวรรค์เหมือนถูกเชิญมาเกิด
บุญ คือ อะไร ?
บุญเป็นเครื่องชำระจิตให้ผ่องใส (เมื่อจิตผ่องใสย่อมไปสู่โลกสวรรค์) บุญเป็นคุณเครื่องแห่งความสำเร็จทั้งปวง (ความสุขทั้งมวลล้วนมาจากบุญ)
คุณสมบัติของกัลยาณมิตร
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ ควรเสพ ควรคบเป็นมิตร ความเข้าไปนั่งใกล้ แม้ถูกขับไล่ ธรรม 7 ประการเป็นไฉนคือ....