อานิสงส์การเป็นศรีภรรยาที่ดี
แม่น้ำเป็นที่อยู่แห่งฝูงปลา ย่อมหลั่งไหลไปสู่สาครท้องทะเลหลวง ซึ่งจะประมาณมิได้ มีสิ่งที่น่ากลัวอาศัยอยู่มาก และเป็นที่อยู่แห่งรัตนะหลายชนิด ฉันใด ห้วงบุญย่อมหลั่งไหลไปสู่นรชนผู้เป็นบัณฑิต ให้ข้าว น้ำ เครื่องนุ่งห่ม ที่นอน ที่นั่ง เครื่องปูลาด เหมือนห้วงน้ำหลั่งไหลเข้าไปสู่สาคร ฉันนั้น
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๕ )
แต่ครั้นจะให้ก็กลัวว่า ข้าวปายาสคงไม่เหลือแน่ เพราะมีพราหมณ์ ผู้ไม่ได้รับเชิญ มารอบริโภคภัตของตนถึง ๓ คน แต่ถ้าจะไม่ให้ก็อึดอัด ส่วนความตระหนี่ที่ฝั่งแน่นอยู่ในใจนั้น ก็ยังไม่หลุดออกไปเลยทีเดียว มันรบกันไปรบกันมาอยู่ภายใน ระหว่างให้กับไม่ให้ เมื่อกุศลจิตส่งผลก่อน จึงได้แต่พูดด้วยความลำบากใจว่า
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 12
มโหสถเห็นอาการเศร้าซึมของนาง ก็ทราบว่า นางคงรู้สำนึกขึ้นมาแล้ว จึงได้ให้โอวาทต่อไปว่า “ต่อแต่นี้ไป เจ้าจงสมาทานเบญจศีลเถิดนะ แล้วพึงตั้งใจรักษาให้บริสุทธิ์ไปจนตลอดชีวิต ขอให้เจ้าพึงสำเหนียกไว้ในใจเสมอว่า เราจักเว้นจากการเบียดเบียนชีวิตและทรัพย์สินของผู้อื่นไปจนกว่าชีวิตจะหา ไม่ เจ้าจะทำได้ไหมล่ะ”
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง ที่พระสงฆ์อธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตลอดช่วงฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น
เวมานิกเปรตผู้โดดเดี่ยว
เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภอดีตหญิงโสเภณีคนหนึ่งที่ประพฤติผิดศีลแทบทุกข้อ แต่มีบุญที่ได้ทำทานกับพระอรหันต์ไว้บ้าง จึงทำให้ไปบังเกิดเป็นเวมานิกเปรต เปลือยกายอยู่โดดเดี่ยวท่ามกลางมหาสมุทร เรื่องของนางก็มีอยู่ว่า...
Case Study พระภิกษุผู้เป็นไอดอลของหัวหน้าชั้น ตอนที่ 4 (ตอนจบ)
สำหรับสาเหตุที่ทำให้ลูกอุบาสิกาเขตในท่านนี้...ต้องมาเกิดเป็นผู้หญิงในภพชาติปัจจุบันนี้เพราะ...
สรรเสริญ นินทา ธรรมดาของโลก
อตุละ การนินทาและสรรเสริญนั่น เป็นของเก่า นั่งไม่ใช้เป็นเหมือนมีในวันนี้ ชนทั้งหลายย่อมนินทาผู้นั่งนิ่งบ้าง ย่อมนินทาผู้พูดมากบ้าง ย่อมนินทาผู้พูพอประมาณบ้าง ผู้ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก
ผู้ให้คือผู้ชนะ
ดวงจันทร์ปราศจากมลทิน โคจรไปในอากาศ ย่อมสว่างกว่าหมู่ดาวทั้งปวงในโลก ด้วยรัศมี ฉันใด บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยศีล มีศรัทธา ก็ฉันนั้น ย่อมไพโรจน์กว่าผู้ตระหนี่ทั้งปวง
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๕)
รสแห่งธรรมเลิศกว่ารสทั้งปวง ความสุขที่เกิดจากการเข้าถึงธรรมอันบริสุทธิ์ภายใน ประเสริฐกว่าความสุขอื่น...
ไม่มีใครติเตียน
ผู้ใด เมื่อผู้อื่นทำความดีต่อตน ทำประโยชน์ให้ในกาลก่อน แล้วรู้คุณของเขา ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมเจริญ