พิธีฉลองสมโภชพระอารามหลวง วัดสองพี่น้องพระอารามหลวง
พิธีฉลองสมโภชพระอารามหลวง วัดสองพี่น้องพระอารามหลวง อำเภอสองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2559
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
พิธีทรงตั้งเปรียญธรรม ๓ ประโยคเขตปกครองคณะสงฆ์กรุงเทพมหานคร
ผู้ปฎิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานในพิธีทรงตั้งเปรียญธรรม ๓ ประโยคและประโยค ๑-๒ แก่พระภิกษุสามเณรในเขตปกครองคณะสงฆ์กรุงเทพมหานคร
การอนุโมทนาและมุทิตาจิต
คำว่า “อนุโมทนาบุญ” มีความหมายอย่างไร? การที่เรามุทิตาจิตถือเป็นการอนุโมทนาบุญอย่างหนึ่งหรือไม่? สำหรับคนที่เราไม่ชอบ เราจะวางใจร่วมยินดีกับเขาอย่างไร? การมุทิตาหรืออนุโมทนาบุญมีผลต่อสภาวะใจของเราใช่ไหม?
ชี้แจงกรณีมีผู้กล่าวหาว่าธรรมกายไม่ใช่พุทธ
วัดพระธรรมกายเริ่มสร้างวัดเมื่อวันมาฆบูชา ปี พ.ศ.2513 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จัดตั้งเป็นวัดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เมื่อปี พ.ศ.2520 ได้ทางานเผยแผ่พระพุทธศาสนามาตามลาดับ ปัจจุบันมีพระภิกษุสามเณรประจากว่า 4,000 รูป มีสาธุชนและลูกศิษย์วัดจานวนหลายล้านคน
๔๙ พรรษา วันธรรมชัย วันแห่งชัยชนะโดยธรรม
เมื่อถึงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ของทุกปี เหล่าศิษยานุศิษย์กัลยาณมิตรทั้งหลายต่างรำลึกเสมอว่าเป็น “วันธรรมชัย” (วันแห่งชัยชนะโดยธรรม) คือ วันที่หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายและประธานมูลนิธิธรรมกาย เข้าบรรพชาอุปสมบท ณ วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
วัดพระธรรมกายดีซีถวายการต้อนรับพระเถรานุเถระ
วัดพระธรรมกายดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ถวายการต้อนรับพระเถรานุเถระ ณ วัดไทยกรุงวอชิงตันดีซี
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร ๑. เวลาพระท่านพูด ควรตั้งใจฟังด้วยความเคารพ ไม่ควรขัดจังหวะหรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกำลังพูดอยู่ ๒. เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร ควรประนมมือฟังด้วยความเคาพ ๓. เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล ควรว่าตามด้วยเสียงที่ชัดเจน
ขอเรียนเชิญร่วมพิธีผูกพัทธสีมาประดิษฐานลูกนิมิต ณ อุโบสถวัดพระธรรมกายบาวาเรีย
ขอเรียนเชิญร่วมพิธีผูกพัทธสีมาประดิษฐานลูกนิมิต ณ อุโบสถวัดพระธรรมกายบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
บูรพกษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สันนิษฐานว่าพระไตรปิฎกภาษาบาลีเข้ามาสู่ประเทศไทยใน ๒ ช่วง คือประมาณปี พ.ศ. ๑๖๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเถรวาทเผยแผ่จากประเทศพม่าเข้าสู่ภาคเหนือของไทย และประมาณปี พ.ศ. ๑๘๐๐ เมื่อพระพุทธศาสนาเผยแผ่ จากประเทศศรีลังกามาทางนครศรีธรรมราช