มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - โทษที่ไม่มีโทษ
การที่เราจะเป็นผู้ปกครองที่ดี จะต้องรู้จักสอนคนในปกครองให้เป็นคนดี ให้เขาโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพ คือให้มีความรู้คู่คุณธรรม ครูบาอาจารย์ที่ดีก็เช่นกัน ต้องหมั่นตักเตือนสั่งสอนให้ศิษย์เป็นคนดี คอยประคับประคองให้ลูกศิษย์ดำเนินไปในเส้นทางที่ถูกต้อง ถูกทำนองคลองธรรม โดยไม่กลัวภัยที่จะเกิดขึ้นกับตน
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
รวมบทสวดมนต์ข้ามปี
มงคลที่ ๒๒ มีความเคารพ - เจดีย์แห่งพระธรรม
ถ้าภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา มีความเคารพในธรรม จะก่อให้เกิดความสงบสุข ความสามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ทุกคนจะมีจิตใจผ่องใส มีความสงบสำรวม น่าเลื่อมใส ทำให้ชาวโลกทั้งหลายต้องมองดูด้วยความอัศจรรย์ใจ และพลอยเลื่อมใสในคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปด้วย
อานิสงส์แห่งการจุดประทีป
ผู้ใดจุดประทีปถวายคราวที่ควรจุดประทีปในเวลาคํ่าคืน อันเป็นอุปกรณ์กำจัดความมืดให้เป็นทาน วิมานอันมีรัศมีโชติช่วง มีสวนงดงามมาก มีบุณฑริกบัวขาวมาก ย่อมเกิดแก่ผู้นั้น
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - ฝ่าเท้ามารดา หนทางพาสู่สวรรค์
ในสมัยที่พระองค์เสวยพระชาติเป็นช้างเผือก ที่มีความ กตัญญู มีบริวารถึง ๑๐๐,๐๐๐ เชือก สามารถปกครองช้างทั้งหมดให้อยู่กันอย่างมีความสุข มารดาของท่านตาบอด ไม่สะดวกในการหาอาหารด้วยตนเอง ในคืนวันหนึ่ง พญาช้างโพธิสัตว์จึงพามารดาไปอยู่ในถ้ำที่เชิงเขาตามลำพัง คอยหาน้ำ หาอาหารมาเลี้ยงดูแลท่านด้วยความกตัญญู
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งโลก
บุคคลใดมีความเพียร ข่มขี่มาร ครอบงำมัจจุราชได้แล้ว ได้ถูกต้องธรรมอันเป็นที่สิ้นการเกิด บุคคลเช่นนั้นย่อมเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นผู้มีปัญญาดี เป็นมุนี ผู้หมดความทะยานอยากในธรรมทั้งปวง
คำชี้แจงจากวัดพระธรรมกาย 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 เวลา 10.00 น.
กรรมตามสนอง
ผู้ใดประทุษร้ายต่อนรชนผู้ไม่ประทุษร้าย ผู้บริสุทธิ์ ไม่มีกิเลสดุจเนิน บาปย่อมกลับถึงผู้นั้นซึ่งเป็นคนพาล เหมือนธุลีอันละเอียด ที่ซัดไปทวนลมฉะนั้น
ไม่มีใครติเตียน
ผู้ใด เมื่อผู้อื่นทำความดีต่อตน ทำประโยชน์ให้ในกาลก่อน แล้วรู้คุณของเขา ประโยชน์ที่ผู้นั้นปรารถนาย่อมเจริญ