ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2558
สถานีโทรทัศน์ DMC ถ่ายทอดสด “การประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2558” จากวัดสามพระยาวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ปีที่ 11 วันอังคารที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2558 รับชมพร้อมกันทั่วโลกเวลา 13.00 น. เป็นต้นไป และ www.dmc.tv
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2557
แม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดตรวจข้อสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2557 ชั้น ป.1 - 2 ถึง ป.ธ.9 (ทุกชั้นประโยค)
กำหนดการสอบบาลีสนามหลวงประจำปี 2557
สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง ได้ประกาศวันสอบบาลีสนามหลวง ปี 2557 ทุกชั้นประโยค กำหนดการสอบบาลีสนามหลวงประจำปีพุทธศักราช 2557 การสอบบาลี ครั้งที่ 1 การสอบบาลี ครั้งที่ 2 (สอบซ่อม)
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2556
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ประจำปี 2556 รายชื่อผู้สอบบาลีสนามหลวงได้
วัดพระธรรมกายพร้อม ! ส่งสอบบาลีสนามหลวง ปี 56 กว่า 670 รูป
พระมหาสุธรรม สุรตโน อาจารย์ใหญ่ โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดพระธรรมกาย แจ้งว่าระหว่างวันที่ 12-16 กุมภาพันธ์ ที่จะถึงนี้ คณะสงฆ์ไทยจัดให้มีการสอบพระปริยัติธรรมสนามหลวง แผนกบาลี ประจำปี พ.ศ.2556 ครั้งที่ 1 ระดับชั้นประโยค ป.ธ. 6-7-8-9
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวงประจำปี 2555
สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง ร่วมกับมูลนิธิธรรมกาย และวัดสามพระยา ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวงประจำปี 2555 ในระดับชั้นเปรียญธรรม 7 ประโยค ถึง เปรียญธรรม 9 ประโยค
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวงปี 54
สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง ในระดับชั้นเปรียญธรรม 7 ประโยค ถึง 9 ประโยค ซึ่งในปีนี้มีพระภิกษุ สามเณร สอบผ่านเปรียญธรรม 9 ประโยคจำนวน 60 รูป
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวง พร้อมรายชื่อผู้สอบบาลีได้ ป.ธ.9 ปี 2554
พระธรรมปัญญาภรณ์ เลขานุการแม่กองบาลีสนามหลวง ประกาศรายชื่อผู้สอบประโยคบาลีสนามหลวง ป.ธ.9 ซึ่งมีพระ-เณร เข้าสอบ จำนวน 385 รูป สอบได้ทั้งหมด 60 รูป แบ่งเป็นสามเณร 8 รูป เป็นที่น่าพอใจ
ประกาศผลสอบบาลีสนามหลวงประจำปี 2554
ในปีนี้มีจำนวนพระภิกษุสามเณรขอเข้าสอบ ดังนี้ 1.ประโยค ป.ธ. 9 จำนวน 451 รูป 2.ประโยค ป.ธ. 8 จำนวน 637 รูป 3.ประโยค ป.ธ. 7 จำนวน 971 รูป 4.ประโยค ป.ธ. 6 จำนวน 962 รูป 5.ประโยค ป.ธ. 5 จำนวน 1,372 รูป 6.ประโยค ป.ธ. 4 จำนวน 2,153 รูป 7.ประโยค ป.ธ. 3 จำนวน 4,523 รูป 8.ประโยค 1 – 2 จำนวน 24,477 รูป รวมทั้งสิ้น 35,546 รูป
การเรียนบาลีและสอบบาลีสนามหลวง
การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกภาษาบาลี เป็นพระราชภาระของพระมหากษัตริย์ ทรงจัดให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาเล่าเรียนตามกำลังสติปัญญา สืบเนื่องเป็นพระราชกรณียกิจมา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา