การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย เป็นการปฏิบัติตามหลักทางสายกลาง โดยการฝึกใจให้หยุดนิ่ง อยู่ภายในกลางกายของเรา(ศูนย์กลางกายฐานที่ 7)อย่างต่อเนื่อง ในอารมณ์ที่สบาย เป็นการดึงใจซัดซ่านไปในอารมณ์ต่างๆในความคิดต่างๆ
เจริญธัมมานุสติ
พระธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมนั้น
เจริญพุทธานุสติ
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นพระอรหันต์ ผู้ตรัสรู้แล้วเองโดยชอบ พระองค์นั้น
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - ธรรมกายต้นแหล่งแห่งความบริสุทธิ์
นักปราชญ์เหล่าใด เจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์ ไม่บรรลุความเป็นพระสาวกในศาสนาของพระชินเจ้า นักปราชญ์เหล่านั้นย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกพุทธเจ้า ผู้มีธรรมใหญ่ มีธรรมกายมากมาย มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงทุกข์ทั้งมวลได้ มีจิตโสมนัส มีปกติเห็นประโยชน์อย่างยิ่ง
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - กุศโลบายให้พ้นโลก
โธตกมาณพทูลว่า "ถ้าพระองค์จะทรงพระกรุณา ก็ควรแสดงธรรมอันทำให้กิเลสของข้าพระพุทธเจ้าดับไป และแสดงธรรมที่ควรจะรู้ ขอได้โปรดสั่งสอนข้าพระองค์ให้เป็นคนโปร่งเบาใจ ไม่ขัดข้องดุจสภาวะที่กิเลสดับไปแล้ว ไม่อาศัยสิ่งใดสิ่งหนึ่งเที่ยวอยู่ในโลกนี้เถิด พระพุทธเจ้าข้า"
The Middle Way รุ่นที่ 5 ประเทศแอฟริกาใต้
ศูนย์ปฏิบัติธรรมโจฮันเนสเบิร์ก หรือวัดพุทธโจฮันเนสเบิร์ก ได้จัดคอร์สสมาธิ The Middle Way... มาถึงวันนี้ ก็เป็นรุ่นที่ 5 แล้ว สมาชิกทุกคนมีประสบการณ์ภายในตั้งแต่เบื้องต้น คือความ-สงบ สบาย ตัวเบา และเห็นความสว่างมากน้อยต่างกันไป
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - สังฆทานประเสริฐกว่าปาฏิปุคคลิกทาน
ถ้าภิกษุผู้อยู่ใกล้บ้าน เป็นผู้ฟุ้งซ่าน ไม่ตั้งใจประพฤติพรหมจรรย์ ก็ต้องถูกตำหนิเหมือนกัน ส่วนภิกษุใดแม้จะพำนักอยู่ที่วัดใกล้บ้าน ไม่ได้เป็นผู้บิณฑบาตเป็นวัตร ไม่ได้สมาทานธุดงควัตร ไม่ได้ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร แต่เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน สำรวมอินทรีย์ มีกาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ ก็สมควรได้รับการสรรเสริญ ภิกษุรูปนั้นเป็นทักขิไณยบุคคลอันเยี่ยม
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ไม่ควรดูหมิ่นบุญ
ขึ้นชื่อว่าบุญ อันใครๆ ไม่ควรดูหมิ่นว่าเล็กน้อย บุคคลถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ โดยมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้ว ไม่ควรดูหมิ่นบุญว่าเล็กน้อย เพราะว่าบุคคลผู้ฉลาดในการทำบุญ ย่อมเต็มเปี่ยมไปด้วยบุญโดยลำดับ เปรียบเหมือนภาชนะที่เปิดฝา ย่อมเต็มไปด้วยน้ำ ฉะนั้น
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - แทนคุณอันสุดซึ้ง ต้องให้เข้าถึงธรรม
นักปราชญ์ได้กล่าวถึงพระคุณของพ่อแม่ว่า มีมากเกินกว่าที่จะพรรณนาให้หมดสิ้นได้ และเป็นการยากที่จะทดแทนพระคุณของท่านได้หมด เพราะนอกจากจะกตัญญูรู้คุณ และตอบแทนพระคุณแล้ว เรายังต้องประกาศคุณความดีของท่าน ด้วยการทำตนให้เป็นคนดี หมั่นประพฤติปฏิบัติธรรม ให้กาย วาจา ใจ สะอาดบริสุทธิ์ ดังเช่นการตอบแทนพระีุคุณโยมแม่ของพระสารีบุตร
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง