ติสสสามเณร สามเณรผู้รู้วันละสังขาร
ในสมัยพุทธกาลมีสามเณร น้อยองค์หนึ่งชื่อติสสะ อายุ ๗ ปีมาบวชเพื่อศึกษาเล่าเรียน และปฏิบัติธรรมอยู่ในสำนักพระสารีบุตรเถระอัครสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นระยะเวลาหนึ่งปี
สามเณรปิโลติกะ อดีตเด็กขอทาน
ในสมัยพุทธกาลมีเด็กขอทานคนหนึ่งชื่อว่า ปิโลติกะ นุ่งผ้าเก่าๆขาดวิ่น ถือชามกระเบื้องเดินขอทานอยู่ไปมา พระอานนท์เห็นเข้าจึงเกิดความเมตตาชวนให้เด็กขอทานได้บวชในพระพุทธศาสนา สามเณรจึงได้บวชกับพระอานนท์นับแต่บัดนั้น
สามเณรนิโครธ ผู้จุดให้พระเจ้าอโศกมหาราชหันมานับถือและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
ประมาณ ๓๐๐ ปีหลังพุทธปรินิพพาน มีสามเณรน้อยรูปหนึ่งนามว่า สามเณรนิโครธ อายุเพียง ๗ ขวบ ได้ออกบวชและบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์สามเณรน้อยมีผิวพรรณผ่องใสและเป็นผู้ที่ฝึกตนเป็นอย่างดีจึงมีบุคลิกที่สงบเสงี่ยมสง่างามน่าเลื่อมใสยิ่งนัก ทำให้พระราชาคือ พระเจ้าอโศกมหาราชเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในทันทีที่เห็นสามเณรเดินผ่าน
จุนทะสามเณร ผู้มีส่วนริเริ่มสังคายนา
จุนทะเป็นน้องชาย ๑ใน ๗ ของพระสารีบุตรผู้เป็นอัครสาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ออกบวชเป็นสามเณรในสำนักพระสารีบุตร ผู้เป็นพี่ชายโดยมีพระอานนท์เป็นพระอุปัชณาย์ (พระผู้บวชให้) เมื่อบวชแล้วก็บำเพ็ญเพียรเจริญวิปัสสนา ไม่นานนักก็บรรลุธรรมเป็นอรหันต์ตอนอายุ ๗ ขวบพร้อมคุณวิเศษ มักอาสาแสดงปาฏิหาริย์แทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
กุมารกัสสปสามเณร ผู้มีผิวพรรณดุจทองคำ
กุมารกัสสปะ เป็นชื่อที่พระเจ้าปเสนทิโกศลที่ทรงรับอุปการะเลี้ยงดูตั้งให้ เพราะมารดาของท่านได้มีศรัทธาออกบวชหลังจากแต่งงานแล้ว และไม่รู้ตัวว่าตั้งครรภ์(ท้อง) ซึ่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตัดสินเรื่องนี้ว่าไม่ผิดศีลเพราะได้ตั้งครรภ์ก่อนบวช
สามเณร คือ ใคร
สามเณร คือ นักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ หน่อเนื้อของสมณะ ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณร คือ ผู้สั่งสมบุญเก่ามาในอดีตไว้ดีแล้ว จึงได้มีโอกาสมาบวชฝึกฝนตนเอง
รับสมัครพนักงานขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชน
หากคุณเป็นชายมีใจอยากช่วยงานพระพุทธศาสนา ทำงานอยู่ในวัด ขอเชิญมาสมัครเป็นพนักงานขับรถราง เพื่อขับรถรางรับส่งพระภิกษุ-สามเณร และสาธุชนวัดพระธรรมกาย สุขใจได้ทั้งงานและบุญ
สามเณร 500 รูป ประเทศอินเดีย ร่วมพิธีจุดประทีป ถวายเป็นพุทธบูชา ในดินแดนพุทธภูมิ
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร
การสนทนาระหว่างฆราวาสกับพระภิกษุ/สามเณร ๑. เวลาพระท่านพูด ควรตั้งใจฟังด้วยความเคารพ ไม่ควรขัดจังหวะหรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกำลังพูดอยู่ ๒. เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร ควรประนมมือฟังด้วยความเคาพ ๓. เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล ควรว่าตามด้วยเสียงที่ชัดเจน
สามเณร ค่ายจองแชมป์ เรียนพระบาลี ทรงโอวาทปาฏิโมกข์
สามเณร ค่ายจองแชมป์ หมู่กุฏิสามเณรเปรียญธรรม วัดพระธรรมกาย ตั้งใจพากเพียร เขียน อ่านบาลี-ไวยกรณ์ และทรงพระปฏิโมกข์ เป็นต้นบุญต้นแบบเป็นเนื้อนาบุญแก่ชาวโลก