ความสุขของคนหนุ่มสาวกับคนสูงวัยแตกต่างกัน
ความสุขของผู้สูงอายุคืออะไร พาไปเที่ยว หรือกินอาหารอร่อย หรืออะไรกันแน่ที่จะทำให้พ่อแม่ของเรามีความสุขในช่วงสูงวัยนี้
พระพากุลเถระ เอตทัคคมหาสาวกผู้มีอาพาธน้อย
เรียบเรียงจาก : อรรถกถา ขุททกนิกาย เถรคาถา ติกนิบาต : อรรถกถา อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เอตทัคคบาลี
อัครสาวก ซ้าย-ขวา
ชนเหล่าใด มีปกติรู้ในสิ่งที่ไม่เป็นสาระว่าเป็นสาระ และเห็นในสิ่งที่เป็นสาระว่าไม่เป็นสาระ ชนเหล่านั้น มีความดำริผิดเป็นอารมณ์ ย่อมไม่ประสบสิ่งที่เป็นสาระ ชนเหล่าใด รู้สิ่งที่เป็นสาระโดยความเป็นสาระ และสิ่งไม่เป็นสาระโดยความไม่เป็นสาระ ชนเหล่านั้น มีความดำริชอบเป็นอารมณ์ ย่อมประสบแต่สิ่งที่เป็นสาระแก่นสาร
ทรงพยากรณ์คติของสาวกทำไม
ดูก่อนอนุรุทธะทั้งหลาย เธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ตถาคตเห็นอำนาจประโยชน์อะไรอยู่ จึงพยากรณ์สาวกทั้งหลายทำกาละล่วงลับไปแล้ว ใ
ชี้ชาวจีนกว่า 10 ล้านเป็นสาวก “สมาคมคนกินฉี่”
โกกาลิกชาดก ชาดกว่าด้วยพูดในกาลที่ควรพูด
พระอัครสาวกและพระโกกาลิกะพร้อมด้วยภิกษุ 1,000 รูป ติดตามไปเยี่ยมชาวบ้านในหมู่บ้าน พวกอุบาสกเหล่านั้นพากันต้อนรับด้วยเภสัชและเครื่องนุ่งห่มแต่ก็ไม่ได้ถวายแก่พระโกกาลิกะอีก จึงทำให้ท่านถึงกับทนไม่ไหว ด่าตัดพ้อพระเถระทันที “ พวกท่านนี่ เป็นตัวขัดลาภข้าจริง ๆ ทำไมชาวบ้านถวายสิ่งของแก่พวกท่านกลับไม่ถวายเจ้าอาวาสอย่างข้า ”
วันมาฆบูชา...สำคัญอย่างไร ?
วันมาฆบูชา ในปีนี้ตรงกับวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2558 วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 พระบรมศาสดาทรงประชุมพระสาวก ณ พระวิหารเวฬุวัน ได้เกิดเหตุอัศจรรย์ประกอบด้วยองค์ 4 ดังนี้
เตรียมแผ่นลาน จารพระธรรม
ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจ้ารับสั่งกับพระอานนท์พุทธอุปัฎฐากว่า ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้วบัญญัติแล้วแก่เธอทั้งหลาย หลังจากเราล่วงลับไป ก็จะเป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ได้ทรงตั้งสาวกองค์ใดให้เป็นพระศาสดาปกครองคณะสงฆ์สืบต่อจากพระองค์ แต่ทรงให้พระธรรมวินัย คือคำสั่งสอน เป็นศาสดาแทนพระองค์ต่อไปในกาลภายหน้า
ติดตามพระศาสดาเพื่ออะไร
ดูก่อนอานนท์ สาวกไม่ควรจะติดตามศาสดาเพียงเพื่อฟังสุตตะ เคยยะและไวยากรณ์เลย นั่นเพราะเหตุไร
ชีวิตพระปัจเจกพุทธเจ้า (2)
นักปราชญ์เหล่าใดมีศีลบริสุทธิ์ มีปัญญาหมดจดดี มีจิตตั้งมั่น ประกอบความเพียร เจริญวิปัสสนา มีปกติเห็นธรรมพิเศษ รู้แจ้งธรรมอันประกอบด้วยมรรค และโพชฌงค์ เจริญสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ และอัปปณิหิตวิโมกข์ ไม่บรรลุความเป็นพระสาวกในศาสนาของพระชินเจ้า นักปราชญ์เหล่านั้น ย่อมเป็นพระสยัมภูปัจเจกชินเจ้า มีธรรมใหญ่ มีธรรมกายมาก มีจิตเป็นอิสระ ข้ามห้วงทุกข์ทั้งปวงได้ มีใจเบิกบาน มีปกติเห็นประโยชน์อย่างยิ่ง อุปมาดังราชสีห์ อุปมาดังนอแรดฉะนั้น