สำรวมจิตเพื่อชีวิตที่สมบูรณ์
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยาก ที่ละเอียดอ่อน มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เพราะว่าจิตที่คุ้มครองดีแล้ว นำสุขมาให้
ผู้ขัดขวางการสร้างบารมี
ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต ที่ท่องไปในที่ไกลๆ เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร
เทพบุตรมาร (๓)
ชนเหล่าใดจักสำรวมจิตนี้ ซึ่งไปได้ไกล เที่ยวไปโดดเดี่ยว ไม่มีรูปร่าง มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย ชนเหล่านั้น จักพ้นจากบ่วงแห่งมารได้
พระบรมธาตุ
พระบรมธาตุ บทบาทและความสำคัญของพระบรมธาตุ ตำนานพระบรมธาตุ เรื่องพระบรมธาตุ เมื่อสิ้นศาสนา พระธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหมดจะเสด็จไปรวมกันที่พระมหาเจดีย์เมืองอนุราธปุระในลังกา แล้วจึงเสด็จไปรวมกันขึ้นเป็นองค์ที่โพธิบัลลังก์ในอินเดีย แสดงธรรมแก่เทวดาทั้งหลายเป็นครั้งสุดท้าย อันตรธาน
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปปางต่างๆ พระพุทธรูปปางอธิษฐานเพศบรรพชิต พระพุทธรูปปางรับมธุปายาส พระพุทธรูปปางรับหญ้าคา พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระพุทธรูปปางสมาธิหรือปางตรัสรู้ ความเป็นมาของปางต่างๆ
กัณฐกวิมาน
พระจันทร์มีรอยรูปกระต่ายในเดือนเพ็ญ ถูกหมู่ดาวแวดล้อม เป็นอธิบดีของหมู่ดาวทั้งหลาย ย่อมโคจรไปในอากาศ ฉันใด ทิพยวิมานนี้ก็ฉันนั้น ย่อมรุ่งโรจน์ด้วยรัศมีในเทพบุรี เหมือนดวงอาทิตย์กำลังอุทัย ดูก่อนเทพบุตร ท่านเป็นผู้มีรัศมีมาก รุ่งโรจน์ยิ่งด้วยวรรณะ อยู่ในวิมานอันประเสริฐนั้น ดุจดวงอาทิตย์กำลังอุทัย นี้เป็นผลแห่งทาน หรือศีล หรืออัญชลีกรรมของท่าน ท่านถูกอาตมาถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่อาตมาเถิด
เวียนเทียน ขั้นตอนการเวียนเทียน
การเวียนเทียน คือ การถือดอกไม้ธูปเทียนที่จุดแล้วเวียนขวา เวียนประทักษิณ โดยให้สิ่งที่เวียนอยู่ทางขวามือของตน รอบปูชนียวัตถุหรือปูชนียสถาน 3 รอบ
การประเคนของแด่พระภิกษุสงฆ์
การประเคน หมายถึง การมอบให้ด้วยความเคารพ ใช้ปฎิบัติต่อพระภิกษุสงฆ์เท่านั้น มีวินัยบัญญัติห้ามพระภิกษุสงฆ์รับ หรือหยิบสิ่งของมาขับฉันเอง
ชีวิตเป็นเดิมพันเพื่อโพธิญาณ
“การสร้างบารมี” เป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี ดำเนินตามรอยบาทพระบรมศาสดา มุ่งแสวงหาสาระอันแท้จริงของชีวิต เพื่อให้ไปถึงจุดหมายปลายทาง คือ ที่สุดแห่งธรรม แต่ในระหว่างการสร้างบารมี เป็นธรรมดาที่จะต้องประสบอุปสรรคบ้าง ซึ่งอุปสรรคเป็นเพียงเครื่องทดสอบกำลังใจ
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ความทุกข์ในการครองเรือน
อยู่มาวันหนึ่ง เศรษฐีกรุงพาราณสีได้เกิดความคิดอย่างนี้ขึ้น ด้วยความรักและความคุ้นเคยในพระโพธิสัตว์ว่า "ชื่อว่าการบวชเป็นทุกข์ เรายังปริพาชกชื่อว่า วัจฉนขะ ผู้เป็นสหายของเราให้สึก แล้วแบ่งสมบัติทั้งหมดให้แก่ปริพาชกไปครึ่งหนึ่ง เราทั้งสองก็จักอยู่ด้วยความปรองดองกัน"