“คิริมานันทสูตร” - ตัวอย่างพระสูตรที่ว่าด้วยการหายอาพาธของพระคิริมานนท์
การฝึกตนให้มีนิสัยดี นอกจากจะช่วยให้สามารถเอาชนะกิเลสในใจตนเองได้แล้ว ยังจะเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมให้สามารถรักษาสมดุลโครงสร้างของร่างกายให้อยู่ในภาวะปกติตลอดเวลา ซึ่งจะส่งผลให้มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (2)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งขับรถ, ท่ายืน เดิน วิ่ง, ท่ายกสิ่งของที่พื้น, ท่านอนที่ถูกต้อง
อิริยาบถในชีวิตประจำวันที่ถูกและผิด (1)
ตัวอย่างอิริยาบทในชีวิตประจำวันที่ผิด และวิธีปฏิบัติอิริยาบทที่ถูกต้อง ได้แก่ ท่านั่งสมาธิ ท่านั่งพับเพียบ ท่านั่งเทพบุตร ท่านั่งบนเก้าอี้ และท่านั่งอ่านหนังสือบนโต๊ะ
ดุลยภาพบำบัด
ดุลยภาพบำบัด คือ วิธีการป้องกันบำบัดรักษาโรคและบำรุงสุขภาพ ด้วยการปรับความสมดุลโครงสร้างของร่างกาย ดุลยภาพบำบัดจึงเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานทางกายวิภาคและสรีรวิทยา เพื่อป้องกันและรักษาโรคด้วยตนเอง
การระวังรักษาภาวะสมดุลของอิริยาบถ
การระวังรักษาภาวะสมดุลของอิริยาบถ หมายถึง ในการนั่ง นอน ยืน เดิน วิ่ง ทำงานหรือกิจกรรมใดๆ ก็ตาม ต้องฝึกตัวเอง ให้มีสติระวังรักษาแนวกระดูกสันหลังให้อยู่ในแนวแกนปกติของร่างกายอยู่เสมอ ด้วยการยืดแนวกระดูกสันหลังอย่างถูกวิธี
กระเพาะอาหารอักเสบ - โรคเกี่ยวกับหลัง - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
โรคกระเพาะอาหารอักเสบ เกิดจาก..กล้ามเนื้อตามแนวกระดูกสันหลังตึง การไหลเวียนถูกปิดกั้น ทำให้สัญญาณประสาทซิมพาเธติคบกพร่อง กรดจึงหลั่งไม่หยุด เมื่อกรดมีจำนวนมากก็กัดทำลายกระเพาะ ทำให้เยื่อบุกระเพาะเกิดการอักเสบ
สาเหตุที่ร่างกายเสียสมดุล
สาเหตุของความเจ็บป่วยหลายๆ โรค มาจากตัวเราเอง ดังนั้น เราจึงต้องมีสติควบคุมกำกับการทำงานของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และพังผืด ให้อยู่ในภาวะสมดุลอยู่เสมอ ร่างกายก็จะอยู่ในภาวะปกติตลอดเวลา
ภูมิแพ้ และหอบหืด - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ผู้ที่เป็นโรคภูมิแพ้จะมีอาการน้ำมูกไหลไม่หยุด ทั้งนี้เพราะระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติคที่ทำหน้าที่ควบคุมการหยุดหลั่งน้ำมูก ซึ่งผ่านมาทางคอและทางท้ายทอยถูกปิดกั้น ไม่สามารถส่งสัญญาณได้ตามปกติ
ปวดข้อ - ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
ตามธรรมดาเมื่อมีอาการปวดข้อ คนเราก็สนใจดูแลเฉพาะแต่ตรงข้อ หรืออย่างมากก็บอกว่า กล้ามเนื้อตรงบริเวณข้อไม่แข็งแรง จึงพยายามบริหารกล้ามเนื้อตรงข้อนั้นให้แข็งแรง แต่ความจริงมีอยู่ว่า กล้ามเนื้อที่ไม่ได้รับสัญญาณประสาทจากสมองจะบริหารอย่างไรก็ยากที่จะกลับมาแข็งแรงเหมือนเดิม
ปวดหู หูอื้อ- ตัวอย่างโรคที่เกิดจากการเสียดุลยภาพ
อาการปวดหูและหูอื้อ เกิดจากกล้ามเนื้อคอตรงบริเวณนั้นตึงมาก ดึงรั้งอยู่ตลอดเวลาจนไปบีบรัดท่อที่เชื่อมระหว่างภายในช่องหูส่วนกลางกับภายในลำคอ