สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
อารมณ์กับการเกิดโรค
กายกับใจมีผลต่อกัน ถ้าใครมีสุภาพใจที่ดีมักจะมีร่างกายที่แข็งแรง ในทางตรงกันข้ามถ้าใครปล่อยให้อารมณ์ของตัวเองไหลไปตามสิ่งเร้าจากภายนอกมากระตุ้นทำให้มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงบ่อยๆ มักจะมีสุขภาพไม่ดี วันนี้เราจึงมาพูดถึง ว่าอารมณ์ต่างๆมีผลต่อรางกายของเราอย่างไร และเป็นปัจจัยให้เกิดโรคได้อย่างไร
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
เพลงวันตรุษจีน สำหรับเทศกาลตรุษจีน 2559
เพลงวันตรุษจีน 2559 หรือปี 2015 ใช้สร้างบรรยากาศปีใหม่สไตล์ชาวจีน เพลงตรุษจีนเพราะๆ น่ารักๆ บรรเลงทำนองจีน เรารวมไว้แล้วที่นี่ค่ะ
ตะลึงเวียดนามการศึกษาเจริญกว่าไทย
นม+น้ำอัดลม = สูญ
ถ้าสู้..อุปสรรคก็ไร้ความหมาย
หนทางการสร้างบารมี เป็นหนทางที่ไม่สะดวกสบาย แต่ปลายทางจะทำให้เราพ้นทุกข์อย่างถาวรเหมือนการสร้างบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งหลายชาติพระองค์ต้องเดิมพันด้วยชีวิต แต่สุดท้ายพระองค์ก็มีมรรค ผล นิพพาน เป็นแก่นสาร และไม่ต้องทนทุกข์ ในวัฏสงสารอันยาวไกลอีกต่อไป
ผู้ที่ผิดศีลข้อที่ ๑ อยู่เป็นประจำสามารถเข้าถึงพระธรรมกายได้หรือไม่
ศีลไม่ว่าข้อใด ถ้าผิดเป็นประจำ ก็ยากที่จะเข้าถึงธรรมกายในตัวได้ แม้ผิดเพียงข้อเดียวเป็นประจำ เช่น ฆ่าสัตว์ทุกวัน ก็ไม่มีทางเข้าถึงธรรมกาย
รอยขีดบนทราย
รอยขีดบนทราย จะเลือกในวิธีการอย่างไร จะทำให้เราเหนือกว่าผู้อื่น
อย่าหลอกกันดีกว่า
จงมาดูดัตภาพอันวิจิตร มีกายเป็นแผล อันคุมกันอยู่แล้วกระสับกระส่าย เป็นที่ดำริของชนเป็นอันมาก ไม่มีความยั่งยืนมั่นคง