พรหมปุโรหิตาภูมิ
ดูก่อนเกวัฏฏะ อิทธิปาฏิหาริย์ คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมแสดงฤทธิ์ได้หลายอย่าง คือ คนเดียวเป็นหลายคนก็ได้ หลายคนเป็นคนเดียวก็ได้ ทำให้ปรากฏก็ได้ ทำให้หายไปก็ได้ ทะลุฝากำแพงภูเขาไปไม่ติดขัดเหมือนไปในที่ว่างก็ได้ ผุดขึ้นดำลงในแผ่นดินเหมือนในน้ำก็ได้ เดินบนน้ำไม่แยกเหมือนเดินบนแผ่นดินก็ได้ นั่งบัลลังก์เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได้ ลูบคลำพระจันทร์พระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากก็ได้ ใช้อำนาจกาย ไปตลอดพรหมโลกก็ได้
มหานรก ๘ ขุม
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ เหมือนถูกนำมาโยนลงในนรก ธรรม ๔ ประการ คือ บุคคลผู้มีกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และเป็นมิจฉาทิฏฐิ ผู้ที่ประพฤติธรรม ๔ ประการนี้เหมือนถูกโยนลงในนรก
2012 วันสิ้นโลก ตีความปฏิทินมายาผิด โลกไม่แตกแต่เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่
2012 วันสิ้นโลกจริงหรือ เผยตีความปฏิทินมายาผิด โลกไม่แตก แต่เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่มีความเป็นไปได้สูงว่า การถอดความนั้นมีความคลาดเคลื่อน อาจจะไม่ใช่คำทำนายวันโลกาวินาศ แต่หมายถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่
อานิสงส์ถวายประทีป
การบูชาบุคคลผู้ควรบูชาเป็นมงคลอย่างยิ่ง
อานิสงส์การจุดประทีปเป็นพุทธบูชา พระมังคลพุทธเจ้า
การให้ประทีป ชื่อว่าให้จักษุ คนเราแม้ตาดีแต่ถ้าอยู่ในที่มืดก็ไม่เห็นอะไร ต่อเมื่อมีประทีปส่องสว่างขึ้นจึงสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆได้ชัดเจน
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
ศาสดาเอกของโลก(๓)
นักปราชญ์บัณฑิตทั้งหลายพิจารณาเห็นว่า การเกิดบ่อยๆ เป็นทุกข์ ความแก่ ความเจ็บและความตายก็เป็นทุกข์ ท่านจึงแสวงหาหนทางพ้นทุกข์
ศาสดาเอกของโลก (๒)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นต้นแบบของยอดนักสร้างบารมี ที่สร้างบารมีในทุกเวลาทุกสถานที่ ไม่ว่าจะกี่ภพกี่ชาติพระพุทธองค์มุ่งสร้างบารมีโดยไม่มีข้อแม้
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 36 อชิตพราหมณ์บรมโพธิสัตว์ออกบวช
การบังเกิดขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น ยากมาก เพราะต้องผ่านการสร้างบารมีมาอย่างน้อย 20 อสงไขยกับหนึ่งแสนมหากัป