อัศจรรย์...ตะวันแก้ว ตอนที่ 2
อัศจรรย์ตะวันแก้ว วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2541 และอัศจรรย์ตะวันแก้ว วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2541 ทุกคนตกตะลึงยิ่งขึ้นไปอีก เมื่อมองขึ้นไปบนท้องฟ้า อะไรนั่น หลวงพ่อพระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ) ปรากฏอยู่บนท้องฟ้า มีดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลางท้องของท่าน มีรัศมีเป็นประกายเหมือนเพชร แวบวาบ ล้อมรอบสวยงามมาก
เก็บตกความปลื้มไม่รู้จบธุดงค์ธรรมชัยอัญเชิญหลวงปู่ทองคำ
ช่วงเวลาศักดิ์สิทธิ์ที่ทุกคนเฝ้ารอคอย เริ่มขึ้นในเวลาที่ปลื้มที่สุด ด้วยการอัญเชิญรูปหล่อทองคำพระเดชพระคุณหลวงปู่ จากเทวรถไปหน้าพระอุโบสถ วัดสองพี่น้อง
อานุภาพปาฏิหาริย์ของหลวงปู่วัดปากน้ำ
รวมอานุภาพปาฏิหาริย์ของหลวงปู่วัดปากน้ำที่ศิษย์หลายคนได้ประสบมากับตัว และมีเรื่องราวปรากฏจนถึงปัจจุบันนี้ หลวงปู่วัดปากน้ำจึงมีลูกศิษย์ลูกหาจำนวนมากในทั่วทุกมุมโลก ดังเรื่องราวอานุภาพหลวงปู่หลายๆ เรื่องต่อไปนี้
ทำไมพระมงคลเทพมุนี สด จันทสโร จึงมีลูกศิษย์มากมายทั่วโลก
พระมงคลเทพมุนี สด จันทสโร หรือ หลวงพ่อวัดปากน้ำฯ แม้ท่านจะละสังขารไปแล้ว แต่คุณงามความดีและวิชาความรู้ที่ท่านได้สอนหรือถ่ายทอดให้กับผู้คนทั้งหลายก็ยังตกทอดมาถึงทุกวันนี้
ทำอย่างไรวัดพระธรรมกายจึงสร้างได้ใหญ่โตอย่างนี้
ที่สร้างวัดพระธรรมกายมานี่ มีทุนเท่าไร หาเงินมาได้อย่างไร จึงสร้างวัดได้ใหญ่โตอย่างนี้
จริงหรือไม่ที่วัดพระธรรมกายทำธุรกิจการค้าเพื่อหาเงินใช้จ่ายในวัด
เคยมีข่าวว่า วัดพระธรรมกายใช้ที่ดินมาก ใช้เงินในการดูแลวัดพัฒนาพระ เณร อุบาสก อุบาสิกามาก ก็เลยมีการทำธุรกิจการค้าเพื่อหาเงินใช้จ่ายในวัด กราบขอความกรุณาหลวงพ่อชี้แจงด้วย
ธุดงค์ธรรมชัย โอวาทสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ในพิธีประดิษฐานรูปหล่อทองคำ
โอวาทสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ในพิธีอัญเชิญรูปหล่อทองคำพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ประดิษฐาน ณ พระมหาเจดีย์มหารัชมงคล วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2555
ทำไมศพบางศพจึงไม่เน่าเปื่อย
พระภิกษุบางรูป เมื่อมรณภาพแล้ว ร่างกายท่านไม่เน่าเปื่อย ยังเก็บศพเอาไว้ให้ประชาชนเคารพบูชาอยู่ในปัจจุบันนี้ได้ เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
ทำอย่างไรจึงจะเข้าถึงพระธรรมกายได้โดยเร็ว
ผู้ที่เข้าถึงธรรมกายขั้นต้น จะอยู่กึ่งกลางระหว่างโลกมนุษย์กับพระนิพพาน ถ้าขยันฝึกอบรมตัวเองต่อไป โอกาสที่กิเลสจะหมดก็มี ถ้าขี้เกียจเลิกนั่งและไม่ประคองสมาธิให้ดี กิเลสก็มาตามเดิม
The Noble Truth of the Cessation of Suffering # 4
In the Lord Buddha’s first sermon to the group of five initial disciples he advocated to steer between the extremes of sensual indulgence