ถ้าฮวงซุ้ยดีจะทำให้ลูกหลานมีความเจริญจริงหรือ
คนจีนเชื่อกันว่าถ้าฮวงซุ้ยของบรรพบุรุษอยู่ในที่ๆ ดี จะทำให้ลูกหลานมีความเจริญก้าวหน้าร่ำรวย หากฮวงซุ้ยของบรรพบุรุษอยู่ในที่ที่ไม่ดีหรือไม่เป็นมงคล ลูกหลานจะประสบกับความหายนะ
The Noble Truth of the Path to the Cessation of Suffering # 6
The Three Signs of Existence [tilakkhana] that are exhibited by all material things are impermanence [aniccam], suffering [dukkham] and not –self [anatta]
The Four Noble Truths : 1. Explanation of the Noble Truth of Suffering
The Lord Buddha’s explanation of suffering includes all four of suffering’s implications in the light of the Four Noble Truths:
ด่วน! ข้อชี้แจ้งเรื่องโครงการพระไตรปิฎก
ชี้แจงกรณีมีผู้กล่าวอ้างว่า วัดพระธรรมกายจะทำการเปลี่ยนแปลงข้อความในพระไตรปิฎก เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง
ความสำคัญของอาคาร 100 ปีคุณยายอาจารย์
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
ศาสดาเอกของโลก (2)
ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ชนเหล่านั้นชื่อว่า เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ ก็วิบากอันเลิศย่อมมีแก่บุคคลผู้ที่เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ...
มงคลที่ ๑๙ งดเว้นจากบาป - อย่าล่วงละเมิดเกินขอบเขต
การล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ที่ไม่ถูกทำนองคลองธรรม เป็นทางมาแห่งบาปอกุศล และเป็นความหมองใจ ที่ชักนำไปสู่อบายได้ การผิดศีลข้อที่ ๓ ในสังคมปัจจุบันนี้ ก็มีกันอยู่เนืองๆ เมื่อผิดพลาดล่วงเกินกันแล้ว ส่วนใหญ่มักไม่รู้ถึงโทษของการล่วงเกิน เหมือนดังพุทธพจน์ที่อุปมาไว้ว่า เหมือนปลาที่กำลังว่ายเข้าไปสู่เครื่องดัก ผลก็คือความตาย
A Mind Free Of Worldly Vicissitudes.
The mind is the nature of thought inside our body and can collect and assimilate all kinds of sense-objects
รอให้แก่ ก็แย่เสียก่อน
เมื่อถูกชักชวนให้ทำบุญ พี่สาวของเธอมักจะพูดว่า “เดี๋ยวรอให้แก่ก่อน” ...แต่ความตายไม่มีนิมิตหมาย อนิจจา พี่สาวของเธอเสียชีวิตเมื่ออายุได้ 42ปี...ผู้ที่สั่งสมบุญอยู่เสมอๆ กับผู้ที่ไม่เชื่อเรื่องบุญบาป ไม่สนใจในการสั่งสมบุญ จะมีชีวิตหลังความตายแตกต่างกันอย่างไร...เรื่องนี้จะเป็นอุทาหรณ์ ให้เราหมั่นสั่งสมบุญตั้งแต่วันนี้ ก่อนที่เวลาของเราจะหมดไป โดยที่เราไม่มีโอกาสจะรู้ได้เลยว่าเมื่อไหร่ความตายจะมาถึง...
ธัมมัสสวนมัย จิตผ่องใสได้ฟังธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย เวลาที่ทรงคุณค่าที่บุคคลให้เป็นไปโดยชอบแล้วย่อมทำให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ เวลาที่ทรงคุณค่า 4 อย่าง คือเวลาฟังธรรมตามกาล เวลาสนทนาธรรมตามกาล เวลาทำความสงบของใจและเวลาพิจารณาธรรมให้เกิดความรู้แจ้ง” (ทุติยกาลสูตร)