ครั้งแรกของประวัติศาสตร์ชาติมาไซ
นึกถึงมาไซ ที่อยู่ในบ้านโครงไม้แล้วมีมูลวัวมาปะแห้ง ส่งกลิ่นให้ผู้มาเยือนต้องผงะ ภายในบ้านก็ปูด้วยมูลวัวเอามาทำเป็นแผ่นๆ ปูเป็นพื้น และมีแหล่งน้ำไกลบ้านต้องเดินเท้าถึงหนึ่งวัน ไม่มีไฟฟ้า อยู่ท่ามกลางดงสิงโต และโรคภัยไข้เจ็บมากมายที่มีในป่า และกว่ามาไซจะได้เงินมาแต่ละ ชิลลิ่ง ก็ลำบาก 5ปีถึงได้เงินครั้งหนึ่ง 5ปีถึงมีอาหารกินอิ่ม
อานิสงส์ถวายเสา ๕ ต้น ร่วมสร้างโรงฉัน
สัตบุรุษย่อมให้ทาน คือ ข้าวและน้ำที่สะอาด ประณีตตามกาล สมควร เนืองนิตย์ ในผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ผู้เป็นเขตดี บริจาคของมากแล้วก็ไม่รู้สึกเสียดาย ท่านผู้มีปัญญาเห็นแจ้งย่อมสรรเสริญทานที่สัตบุรุษให้แล้วอย่างนี้ เมธาวีบัณฑิตผู้มีศรัทธา มีใจอันสละแล้ว บริจาค ทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียนเป็นสุข
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
วัฑฒิสูตร พระสูตรที่ว่าด้วยความเจริญของผู้ครองเรือน
ชีวิตที่สมบูรณ์แบบนั้น บางคนคิดว่าคือความสุขที่มาจากทรัพย์บางคนก็คิดว่าชีวิตที่เต็มไปด้วยความเสียสละ และบางคนอาจคิดว่าความสำเร็จในหน้าที่การงานคือความสมบูรณ์แบบ
ตักบาตรท่าคา พระ 299 รูป ณ ตลาดน้ำท่าคา อ.อัมพวา
ตักบาตรท่าคา พระ 299 รูป โดยพายเรือ วันอาทิตย์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2557 เวลา 06.30 น. ณ ตลาดน้ำท่าคา อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
สวรรค์ชั้นยามา
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีหวังสิ่งตอบแทนในทาน แต่ก็ให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า การให้ทานเป็นการกระทำที่ดี แต่ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี เขาผู้นั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นยามา
ชาวบ้านตื่น พญานาค โชว์ก่อนวันเข้าพรรษา
ชาวบ้านบึงกาฬ แห่ดูพญานาคขึ้นมาลอยเหนือน้ำในบึงโขง
ประกวดแต่งเพลง V-star
ประกวดแต่งเพลง V-star มีเนื้อหาสร้างสรรค์ และให้กำลังใจในการทำความดี เกี่ยวกับการฟื้นฟูศีลธรรมโลก มีคำว่า "ศีลธรรมโลก" และ "V-star" ในเนื้อเพลง อัดเสียงร้องและดนตรี เพื่อให้คณะกรรมการเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า เพลงที่แต่งมา เป็นเพลงแนวไหน ช้า เร็ว ซึ้ง
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๗ (ออกบวช)
บุคคลผู้ปีติในธรรม เมื่อดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก และรสแห่งความสงบแล้ว ย่อมไม่มีความกระวนกระวาย ไม่มีบาป
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"