มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ผู้ไม่ประมาทย่อมถึงบรมสุข
สิ่งทั้งหลายทั้งปวงในโลกนี้ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ หรือสิ่งของก็ตาม ล้วนมีความไม่เที่ยง แปรปรวนอยู่ตลอดเวลา เปลี่ยนแปลงไปสู่ความเสื่อมโทรมทุกอนุวินาที และในที่สุดต้องแตกดับสลายไป มนุษย์ทุกคนเกิดมาแล้วก็ต้องตาย แม้แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นเลิศกว่าใครในภพสาม ยังต้องทิ้งพระวรกายของพระองค์ไว้ในโลก และดับขันธปรินิพพาน
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - มหาทาน คือ เสบียงสู่ความหลุดพ้น
วันหนึ่งพระเจ้าเภรุวมหาราชทอดพระเนตรโรงทานของพระองค์ ทรงดำริว่า ปฏิคาหก ผู้รับทานของเรานี้ ล้วนเป็นผู้ทุศีล บริโภคทานแล้วไม่ทำให้จิตใจของทายกยินดีเลย ทำอย่างไรหนอเราจึงจะได้เนื้อนาบุญ เราปรารถนาจะถวายทานกับพระปัจเจกพุทธเจ้า
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทำบุญก่อนได้ก่อน
การสั่งสมบุญเป็นเรื่องใหญ่และสำคัญเรื่องหนึ่งที่พวกเรา จะต้องทำเป็นประจำสม่ำเสมอ ควบคู่ไปกับการทำภารกิจหน้าที่การงาน และการศึกษาเล่าเรียน เพราะบุญเป็นเครื่องหนุนนำให้เราประสบความสำเร็จในชีวิต ในธุรกิจการงานและสิ่งที่พึงปรารถนา ถ้า ไม่มีบุญมาหล่อเลี้ยง ดวงบุญในตัวจะมีน้อย เวลาจะทำสิ่งใดมักจะติดๆ ขัดๆ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ไม่ควรดูหมิ่นบุญ
ขึ้นชื่อว่าบุญ อันใครๆ ไม่ควรดูหมิ่นว่าเล็กน้อย บุคคลถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ โดยมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้ว ไม่ควรดูหมิ่นบุญว่าเล็กน้อย เพราะว่าบุคคลผู้ฉลาดในการทำบุญ ย่อมเต็มเปี่ยมไปด้วยบุญโดยลำดับ เปรียบเหมือนภาชนะที่เปิดฝา ย่อมเต็มไปด้วยน้ำ ฉะนั้น
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาพาพ้นภัย (๑)
ตัวอย่างของการใช้ปัญญารักษาตัวรอด มีสติปัญญาสามารถนำพาตนให้รอดพ้นภัยพิบัติได้ ดังนั้นปัญญาจึงเป็นรัตนะของนรชนทั้งหลาย โดยเฉพาะปัญญาที่จะช่วยนำพาเรา ให้หลุดพ้นจากทุกข์ในอบายภูมิ ให้ได้เวียนวนสร้างบารมีอยู่เฉพาะในสุคติภูมิอย่างเดียว
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๖ )
ข้าพเจ้านั้น จะเว้นจากความเป็นคนตระหนี่ในวันนี้แหละ อนึ่ง ข้าพเจ้าจะไม่พึงกระทำบาปอะไรอีกต่อไป การไม่ให้สิ่งของอะไร จะไม่มีแก่ข้าพเจ้าอีกต่อไป วันใดข้าพเจ้ายังไม่ได้ให้ วันนั้น ข้าพเจ้าจะไม่ยอมกินข้าว
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๓ ( กำเนิดพระเวสสันดร )
ครั้นพระโพธิสัตว์ออกมาจากครรภ์ของพระมารดา เพียงลืมพระเนตรทั้งสองได้เท่านั้น ก็เหยียดพระหัตถ์ออกมาพลางกล่าวกับพระมารดาว่า “ข้าแต่พระแม่เจ้า หม่อมฉันจะบริจาคทาน มีทรัพย์อะไรพอที่จะให้ลูกบริจาคได้บ้าง” พระชนนีตรัสตอบว่า “ลูกรัก ลูกจงบริจาคทานตามอัธยาศัยเถิด” จากนั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ ๒ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอน ชนะอาฬวกยักษ์)
อายตนนิพพานเป็นธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องเป็นผู้ที่มีใจหยุดนิ่งอย่างสมบูรณ์แล้วเท่านั้น จึงจะเข้าใจได้แจ่มแจ้ง ปัจจุบันแม้หลายท่านจะมีความเห็น
ผู้มีจิตไม่มั่นคง
เราเกิดมาเพื่อสร้างบารมี การสร้างบารมีเป็นงานที่แท้จริงของมวลมนุษยชาติ พระบรมโพธิสัตว์ในกาลก่อนท่านก็ทำอย่างนี้ คือสร้างบารมีไปจนกว่าบารมีจะเต็มเปี่ยม ได้บรรลุจุดหมายปลายทางของชีวิต ดังนั้นเราเกิดมาภพชาติหนึ่ง ก็เพื่อสั่งสมบุญบารมีเท่านั้น บุญที่เราได้ทำไว้ดีแล้ว จะเป็นเสบียงในการเดินทางไกลในสังสารวัฏ เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายอันสูงสุดของชีวิต คือการทำใจให้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะไปสู่อายตนนิพพาน ได้เข้าถึงบรมสุขอันเป็นนิรันดร์