ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 39
ท้าวเธอจึงตรัสว่า “ก่อนนั้นเราได้ฟังกิตติศัพท์ของเธอแล้ว ก็เกิดความเลื่อมใส ยิ่งได้เห็นท่วงทีกิริยาวาจาของเธอ ก็ดูน่ารักน่าชื่นใจไปเสียทั้งหมด แต่ครั้นได้เห็นการกระทำของเธอเมื่อสักครู่ ความชื่นใจที่เคยมี ก็พลันสิ้นไปชั่วพริบตา บอกตามตรงว่า เราทั้งเสียใจและผิดหวังในตัวเธอมาก”
ศูนย์กลางกายสลายความแตกต่างระหว่าง 3 สีผิว
ผ่านไปไม่นานนัก ร่างกายก็เบาขึ้นมาเองโดยไม่ต้องทำอะไร จิตใจสงบนิ่ง “ลึก” มาก จนความสงบนี้แผ่ขยายไปทั่วตัว เหมือนตัวเรานั้น หลอมละลายเป็นความสงบเสียเอง จากนั้นความสงบก็ขยายไปเป็นวงกลมใหญ่จนสุดเส้นขอบฟ้า ในช่วงนั้น “เวลา” ได้หยุดสนิท ไม่มีความหมายใดๆอีกต่อไป ความสงบที่เกิดขึ้นมานั้น ได้ผลิต “ความสุขและความเบิกบาน” (Happiness and Joy) ชนิดที่ไม่เคยได้สัมผัสมาก่อนในชีวิต
พระอรหันต์รู้ได้ยาก
พระอริยบุคคลเหล่าใดในศาสนาของพระโคดม เป็นผู้ประกอบดีแล้ว ด้วยกิริยาทางกายและวาจาอันบริสุทธิ์ มีใจมั่นคง เป็นผู้ไม่มีความห่วงใยในกายและชีวิต พระอริยบุคคลเหล่านั้น บรรลุอรหัตผลที่ควรบรรลุ หยั่งลงสู่อมตนิพพาน ดับกิเลสได้ เสวยผลแห่งความดับเย็นอยู่
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ตายก่อนตาย ตายแล้วสบาย
ความตายของมนุษย์มีอยู่ ๓ ประเภท คือ ตายหลังตาย ตายขณะตาย และตายก่อนตาย ตายหลังตาย คือ ขณะตายนั้นไม่มีสติ หรือไม่รู้เนื้อรู้ตัวมาก่อน เสียชีวิตกระทันหัน เช่นนี้เป็นต้น กว่าจะรู้ตัวว่า ตนเองเสียชีวิตแล้ว ก็ ๓ วันบ้าง ๗ วันบ้าง หรือเกินไปกว่านั้นก็มี ต้องไปเป็นกายสัมภเวสีที่ล่องลอยไปมา จะทักทายใครก็ไม่มีใครรู้เรื่อง เพราะอยู่กันคนละภพภูมิ
วิชชาในพระพุทธศาสนา
การที่เราได้มาอยู่ในสำนักของพระพุทธจ้าของเรานี้ เป็นการมาดีแล้วหนอ วิชชา ๓ เราได้บรรลุแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำเสร็จแล้ว คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ เราทำให้แจ้งชัดแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า เราทำเสร็จแล้ว
พระทศพลญาณ
มนุษย์ส่วนใหญ่ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ เพียงเพื่อให้รู้วิธีการประกอบอาชีพ ที่จะนำมาซึ่งปัจจัยสี่สำหรับหล่อเลี้ยงร่างกาย ให้ดำรงอยู่ในโลกนี้อย่าง
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๒)
คนพาลทำกรรมชั่วที่มีผลเผ็ดร้อน แล้วเดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้นไม่ดี ไม่ควรกระทำ ส่วนบุคคลใดทำกรรมใดแล้ว มีหัวใจแช่มชื่นเบิกบาน ไม่เดือดร้อนในภายหลัง กรรมนั้น เป็นความดี ควรทำ
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ปุจฉา-วิสัชนา
ดังเช่นในสมัยพุทธกาล เหล่าทวยเทพในสวรรค์จะลงจากเทวโลก เพื่อมาฟังธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านถือว่าการมาฟังธรรมเป็นกรณียกิจที่สำคัญ เทวดาแต่ละองค์ที่ลงจากเทวโลกในยามราตรี ต่างไม่มาเปล่า ไม่ใช่เตรียมมาฟังธรรมอย่างเดียว ท่านจะเตรียมคำถามที่ดีๆไว้อย่างน้อย ท่านละ ๑คำถาม เพื่อนำมาทูลถามพระพุทธองค์
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ตอบปัญหาธรรมะ
ครั้งนั้น มีลูกของเศรษฐีได้สนทนากันในเรื่องที่ว่า ทำอย่างไรจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อไม่รู้วิธี จึงได้ชักชวนกันออกแสวงหาธรรมะกับครูบาอาจารย์ที่มีชื่อเสียง เมื่อได้รับการแนะนำจากอาจารย์ให้มาถามปัญหาธรรมะกับพระบรมศาสดา จึงพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 83 ปัญญาบารมี
ปัญญาบารมี คือ ความรอบรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ความเข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายทั้งปวงตามความเป็นจริง