กิเลสพันห้า ตัณหาร้อยแปด
ดูก่อนพราหมณ์ แม่น้ำคงคานี้ ย่อมเกิดแต่ที่ใด และย่อมถึงมหาสมุทร ณ ที่ใด เม็ดทรายในระยะนี้ เป็นของไม่ง่ายที่จะกำหนดนับได้ เท่านี้ร้อยเม็ด เท่านี้พันเม็ด เท่านี้แสนเม็ด ดูก่อนพราหมณ์ กัปทั้งหลายที่ผ่านไปแล้ว ล่วงไปแล้ว มากกว่าเม็ดทรายเหล่านั้น จึงมิใช่เป็นการง่าย ที่จะกำหนดนับกัปเหล่านั้นว่า เท่านี้ร้อยกัป เท่านี้พันกัป เท่านี้แสนกัป
นิพพานคือเป้าหมายของชีวิต
ฐานะที่บุคคลเห็นได้ยาก ชื่อว่านิพพาน ไม่มีตัณหา นิพพานนั้นเป็นธรรมจริงแท้ ไม่เห็นได้โดยง่ายเลย ตัณหาอันบุคคลแทงตลอดแล้ว กิเลสเครื่องกังวลย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้รู้ ผู้เห็นอยู่
มนุสสภูมิที่สร้างบารมี
กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ การได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นการยาก
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 6 ชนะสัจจกนิครนถ์)
อาสวะเหล่าใดที่ทำให้เศร้าหมอง ให้เกิดภพใหม่ มีวิบากเป็นทุกข์ ให้มีชาติ ชรา มรณะต่อไป บุคคลใดยังละไม่ได้ นั่นแหละเป็นคนหลง แต่ถ้าละกิเลสเหล่านั้นได้แล้ว นับว่าเป็นผู้ตื่นอยู่ทุกเมื่อ
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ทางรอดจากสังสารวัฏ
ทันทีที่ พระราชาบรมโพธิสัตว์ทอดพระเนตรเห็นผมหงอกบนฝ่าพระหัตถ์ ทรงสลดพระทัยพลางสอนตนเองว่า "ดูก่อนเจ้าสุสีมะ บัดนี้เวลาของชีวิตเจ้าล่วงเลยมามากแล้ว การอยู่ครองเรือนตกอยู่ในอำนาจของกิเลสอาสวะเช่นนี้ ไม่ใช่ทางรอดของชีวิต การบรรพชามุ่งทำความบริสุทธิ์ให้เกิดขึ้นเท่านั้น เป็นทางรอดจากสังสารวัฏได้ ถึงเวลาที่เจ้าจะต้องประพฤติพรหมจรรย์แล้ว"
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ควรคุ้มครองอินทรีย์
วันหนึ่งท่าน ละเลยการคุ้มครองอินทรีย์ ได้ยืนมองดูมหาชน และเหลือบไปเห็นนางวรรณทาสีคนหนึ่งที่มีรูปร่างงดงาม จึงมีจิตปฏิพัทธ์ เมื่อเกิดความกำหนัดยินดี ฌานก็เสื่อม กินไม่ได้นอนไม่หลับ ทนทุกข์ทรมานอยู่ถึง ๗ วัน
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่ ๔ ( พลานุภาพแห่งบุญ )
ปวงสัตว์ในโลกผู้อาศัยอาหาร เป็นอยู่ทุกจำพวก ขอจงได้อาหารอันน่าพอใจด้วยใจของเรา เมื่อตั้งจิตอย่างนี้ อาหารทั้งหลายก็บังเกิดขึ้น พระองค์สามารถเลี้ยงคนได้ทั้งโลกเพียงแค่ใจนึกคิดเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ไม่ประมาทในธรรม
พระบรมศาสดาของเราทรงย้ำเตือนให้พุทธบริษัทไม่ประมาทในชีวิต ให้เร่งรีบสั่งสมบุญบารมี และฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง จะได้หลุดพ้นจากอาสวกิเลสซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความทุกข์ทรมาน *เหมือนในสมัยหนึ่ง มีภิกษุบวชใหม่จำนวน ๕๐๐ รูป เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นพระบวชใหม่ จึงมีจิตใจฟุ้งซ่าน เพราะอินทรีย์ยังไม่แก่กล้า
วันอาสาฬหบูชา 2567 ประวัติความเป็นมาความสำคัญและธรรมเนียมปฏิบัติ
วันอาสาฬหบูชา 2567 ตรงกับวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2567 วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 4 ประการ