ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 126
จากตอนที่แล้ว พราหมณ์เกวัฏได้กราบทูลอุบายของตนแด่พระเจ้าจุลนีว่า “ขอเดชะ เลศที่จะกระทำนี้เรียกว่า ธรรมยุทธ์ คือ การรบที่ไม่จำเป็นต้องใช้อาวุธเลย เพียงให้ราชบัณฑิตของพระราชาทั้งสองพระนครได้มาพบกัน ณ สถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง แต่มีเงื่อนอยู่ว่า ในบัณฑิตทั้งสองนั้น หากผู้ใดไหว้ก่อน ผู้นั้นก็ถือว่าเป็นผู้แพ้ และความแพ้ของผู้นั้นก็ถือเป็นความพ่ายแพ้ของกองทัพฝ่ายนั้นด้วย พระพุทธเจ้าข้า”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 120
การบำรุงขวัญชาวเมืองของมโหสถบัณฑิต สำเร็จผลอย่างงดงาม ความหวาดหวั่นครั่นคร้ามของชาวเมืองก็หมดไป ในไม่ช้าอุบายของมโหสถบัณฑิตก็เริ่มเห็นผล พระเจ้าจุลนีพรหมทัตเมื่อสดับเสียงประโคมดนตรีและอาการสรวลเสเฮฮาของชาวมิถิ ลา ที่ดูคล้ายกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้นเลย
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 116
ครั้นแล้วสหายของมโหสถก็รีบดำเนินการตามอุบาย พากันเปล่งเสียงโห่ร้องก้องสนั่น แล้วทุบต่อยไหสุราทั้งหมดด้วยค้อนใหญ่ พร้อมกับสาดเทของบริโภคที่ตระเตรียมไว้จนไม่เหลือชิ้นดี แล้วก็ส่งเสียงอึกทึกครึกโครมไปทั่วพระราชอุทยาน ยังความสะดุ้งกลัวให้เกิดแก่เหล่าข้าราชการของปัญจาลนคร
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 112
พระเจ้าจุลนีทรงสดับอุบายนั้นแล้ว ก็ทรงปีติยินดียิ่งนัก ถึงกับตรัสชมพราหมณ์เกวัฏผู้เป็นต้นคิดว่า “แผนการของท่านอาจารย์ช่างแยบยลอะไรเช่นนี้ ดีละท่านอาจารย์ ถ้าเช่นนั้น ท่านจงรีบเตรียมการเคลื่อนพลโดยเร็วเถิด”
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๖ ( ลี้ภัยการเมือง )
วันหนึ่ง เสนกะได้แอบปรึกษาหารือกับปุกกุสะ กามินทะ และเทวินทะ ว่าทำอย่างไรจึงจะกำจัดมโหสถได้ มิเช่นนั้นพวกตน ก็จะเหมือนวัวแก่ที่ไม่มีค่าแก่การเทียมเกวียน เสนกะได้ออกอุบายด้วยการแอบไปลักขโมยพระจุฬามณีของพระราชา ให้ท่านปุกกุสะไปขโมยสุวรรณมาลา...
ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
ชนสันธชาดก ชาดกว่าด้วยเหตุที่ทำจิตให้เดือดร้อน
ครั้งหนึ่งพระเจ้าโกศลทรงมัวเมาด้วยพระราชอิสริยยศหมกหมุนอยู่ในความสุขที่เกิดแต่กิเลสไม่ปรารถนาจะว่าราชการ ไม่ตัดสินคดีความแม้การบำรุงพระศาสดาและพระพุทธศาสนา พระบรมศาสดาจึงทรงให้โอวาทเตือนสติแก่พระเจ้าโกศลมิให้ทรงอยู่แต่ในความประมาท
กลอนเพราะๆ จากสุนทรภู่ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการบวช
มหาสุวราชชาดก ชาดกว่าด้วยความพอเพียง
ในช่วงฤดูร้อนที่เกิดความแห้งแล้งแสนสาหัส บรรดาต้นไม้ต่างพากันล้มตาย มีพญานกแขกเต้าเพียงตัวเดียวที่ไม่ยอมทิ้งต้นมะเดื่อไปไหนถึงแม้ว่าต้นมะเดื่อจะไร้ผล ไร้กิ่ง ไร้ใบ แต่พญานกก็แทะกินกิ่งก้านที่พอมีประทังชีวิตของตน จนร้อนถึงบัลลังก์ของท้าวสักกะ