เชิญฟังธรรมะพิเศษ เรื่อง พระพุทธศาสนานิกายวัชรยานในทิเบต
เชิญฟังธรรมะพิเศษ เรื่อง พระพุทธศาสนานิกายวัชรยานในทิเบต วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558 ณ ห้อง SPD 1 สภาธรรมกายสากล เวลา 09.00 - 16.00 น.
สัมมนาพิเศษ เรื่อง พระพุทธศาสนานิกายวัชรยานในทิเบต
สัมมนาพิเศษ เรื่อง พระพุทธศาสนานิกายวัชรยานในทิเบต วันเสาร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 ณ ห้อง spd 16 สภาธรรมกายสากล เวลา 09.00 - 16.00 น.
การปฏิบัติเพื่อฝึกใจตามเส้นทางสายกลาง
ในธัมมจักกัปปวัตนสูตรอันเป็นพระสูตรที่กล่าวถึงปฐมเทศนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกล่าวถึง มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ซึ่งเป็นหนทางหรือข้อปฏิบัติที่ไม่ตึงเกินไปจนเป็นความลำบากแก่ตน (อัตตกิลมถานุโยค) ไม่หย่อนเกินไปจนเป็นการพอกพูนกามกิเลส(กามสุขัลลิกานุโยค) ...
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 9
การครองเรือนก็เป็นทุกข์อย่างนี้ เมื่อยังไม่มีลูกก็เป็นทุกข์เพราะอยากจะมีลูก แม้รู้ว่าจะต้องเสี่ยงเป็นเสี่ยงตายในการให้กำเนิดบุตรก็ยอม เมื่อมีลูกแล้วก็เป็นทุกข์อีก เพราะจะต้องดูแลรับผิดชอบเลี้ยงดู ต้องให้การศึกษาอีกมากมาย ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าลูกไปคบเพื่อนซึ่งเป็นคนพาล เขาชวนไปประพฤติผิดศีลผิดธรรม ไปติดอบายมุข ไม่สนใจการศึกษาเล่าเรียน กลายเป็นคนเกะกะเกเร ไม่เป็นอย่างที่ใจหวังก็ยิ่งทุกข์หนักขึ้นไปอีก
“ทีไอทีวี” เป็น “ทีวีสาธารณะ” โละทิ้งพนักงานทั้งหมด
ทางสายกลางเส้นทางตรัสรู้ของพระพุทธองค์
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับเป็นวันสำคัญที่มหาบุรุษ เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรทางจิต ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการดำเนินจิตตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา
แถลงการณ์คณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย
แถลงการณ์คณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย เรื่อง สรุปผลการดำเนินงานยื่นหนังสือขอความเป็นธรรม
ธรรมะจากพระอาจารย์วัดพระธรรมกายฮ่องกง
พระอาจารย์วัดพระธรรมกายฮ่องกง ได้เทศน์ธรรมะออนไลน์ เรื่อง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็นมานพหนุ่มแบกมารดาข้ามมหาสมุทร
มฤตยูฉุดคร่าคนผู้มัวเก็บดอกไม้ (กามคุณ)
กามคุณ ในพระพุทธศาสนาหมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ
กามคุณ
กามคุณ หมายถึง สิ่งที่น่าปรารถนา ชวนให้รักชักให้ใคร่ พาใจให้กำหนัดยินดี มี 5 ชนิด คือ รูป (สิ่งที่ตามองเห็น) เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (สิ่งที่กายสัมผัส) กามคุณ 5 นี้เป็นอารมณ์ คือสิ่งที่ยึดดึงใจให้ปรารถนา ให้รักใคร่ เป็นต้น จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "กามารมณ์" แปลว่า อารมณ์คือกามคุณ ไม่ได้หมายถึงอารมณ์ทางเพศเพียงอย่างเดียว