ศึกชิงภพ
สัตว์ที่เกิดมาย่อมมีภัยโดยความตายเป็นนิตย์ เหมือนผลไม้ที่สุกแล้วย่อมมีภัยโดยการหล่นไปในเวลาเช้าฉะนั้น ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิดมีความแตกสลายไปในที่สุด ชีวิตมนุษย์ทั้งเด็กทั้งผู้ใหญ่ ทั้งโง่เขลา ทั้งเฉลียวฉลาด ย่อมไปสู่อำนาจแห่งมฤตยู มีมัจจุราชสกัดอยู่ข้างหน้า เมื่อมนุษย์เหล่านั้น ถูกมัจจุราชสกัดอยู่ข้างหน้าแล้ว ถูกมัจจุครอบงำแล้ว บิดาก็ต้านทานไว้ไม่ได้ หรือพวกญาติก็ต้านทานไม่ได้ มนุษย์ทั้งหลายย่อมรำพันกันอยู่เป็นอันมากนั่นเอง
อุปสรรคและวิธีแก้ไข อาการ ง่วง-หลับ
ร่างกายอ่อนเพลีย อ่อนล้า ทำให้นั่งหลับ นั่งโยกเยก รู้สึกมึนงง ง่วงซึม อยากนอน หาว บ่อย ตาลอย ลืมตาไม่ขึ้น คอตก หายใจแรง กรน ไม่สามารถประคองสติได้ตลอดเวลา
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ไม่ควรดูหมิ่นบุญ
ขึ้นชื่อว่าบุญ อันใครๆ ไม่ควรดูหมิ่นว่าเล็กน้อย บุคคลถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ โดยมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้ว ไม่ควรดูหมิ่นบุญว่าเล็กน้อย เพราะว่าบุคคลผู้ฉลาดในการทำบุญ ย่อมเต็มเปี่ยมไปด้วยบุญโดยลำดับ เปรียบเหมือนภาชนะที่เปิดฝา ย่อมเต็มไปด้วยน้ำ ฉะนั้น
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
ความรู้พื้นฐานที่นำไปสู่ความเข้าใจของการเกิดโรค ตอนที่ 2
ในการควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ เส้นประสาทแต่ละคู่จะมีการแบ่งหน้าที่ เป็น 3 หน้าที่ และอวัยวะแต่ละแห่งจะถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ทำอย่างไรถึงมีความสุข
วิธีการง่ายๆ ที่จะทำให้ทุกข์ทั้งหลายมากล้ำกรายเราไม่ได้ คือ การปฏิบัติตามหลักธรรมที่พระบรมศาสดาทรงประทานไว้แก่พระอรหันตสาวก ๑,๒๕๐ องค์ในวันมาฆบูชาว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำบาปทั้งปวง เพราะผลของบาปคือความทุกข์ ตั้งแต่งดเว้นจากกรรมกิเลส ๔ ประการ คือ
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - ไม่ควรหวัง ในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
ฆฏบัณฑิตได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวว่า "ข้าพระองค์ไม่ปรารถนากระต่าย ที่อาศัยอยู่บนแผ่นดิน ข้าพระองค์ปรารถนากระต่ายบนดวงจันทร์ ข้าแต่พระเจ้าพี่ ขอพระองค์โปรดนำกระต่ายนั้นมาประทานแก่ข้าพระองค์เถิด มิเช่นนั้น ชีวิตของข้าพระองค์ก็คงไม่อาจดำรงต่อไปได้"
ผลการปฏิบัติธรรม พระปัญญา ภานุสิริโก
เดี๋ยวนี้พอนั่งหลับตา กระผมก็จะเห็นองค์พระในดวงแก้ว อยู่ในกลางกายได้ทันที
พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น
โทษของการพูดไม่ถูกกาล
การกล่าววาจาสุภาษิต เป็นมงคลอันสูงสุด